Page 36 - 22825_Fulltext
P. 36

บทที่ 1


                                                            บทน ำ


                  1.1 ที่มำและควำมส ำคัญของปัญหำ


                           ค ำว่ำ “สันติภำพ” หรือ “สันติสุข” (Peace)  ในโลกมีกำรนิยำมแตกต่ำงกันไป ค ำนิยำมที่ใช้
                                                                  1
                  กันมำกคือ ปรำศจำกสงครำมและไม่มีควำมรุนแรงทำงกำยภำพ แต่ค ำนิยำมนี้ยังไม่ครอบคลุมถึง
                  ควำมหมำยที่แท้จริงของค ำว่ำสันติภำพ เนื่องจำกสันติภำพเป็นสภำวะที่มำกไปกว่ำกำรไม่มีกำรสู้รบ

                  เท่ำนั้น แต่รวมถึงทัศนคติ โครงสร้ำงที่ส่งผลต่อกำรใช้หรือไม่ใช้ควำมรุนแรงทำงกำยภำพด้วย  หำก
                  กล่ำวอย่ำงเฉพำะเจำะจงถึงสงครำมในโลกนี้ตั้งแต่ในอดีต มีทั้งที่เป็นสงครำมภำยในประเทศ (Non-

                  Interstate War)และสงครำมระหว่ำงประเทศ (Interstate War) อย่ำงไรก็ตำม สงครำมระหว่ำง
                  ประเทศมีแนวโน้มลดลง ตั้งแต่หลังสงครำมโลกครั้งที่ 2 เช่น ในปี พ.ศ. 2536 และ พ.ศ. 2537 ไม่มี

                  สงครำมระหว่ำงประเทศเกิดขึ้นแม้แต่ครั้งเดียว แต่ควำมรุนแรงที่เกิดขึ้นส่วนมำกเป็นสงครำม
                  ภำยในประเทศ ซึ่งสำมำรถแบ่งได้เป็น 1) ควำมขัดแย้งรุนแรงด้ำนกำรปฏิวัติและอุดมกำรณ์  รวมถึงกำร

                  เปลี่ยนแปลงธรรมชำติของกำรปกครองในรัฐ เช่น เปลี่ยนแปลงจำกระบบทุนนิยมมำเป็นสังคมนิยม กำร
                  เปลี่ยนแปลงจำกระบอบเผด็จกำรมำเป็นประชำธิปไตย และกำรเปลี่ยนแปลงจำกรัฐทำงโลกมำเป็นรัฐ
                  อิสลำม เป็นต้น 2)ควำมขัดแย้งรุนแรงด้ำนอัตลักษณ์/กำรแบ่งแยก  เกี่ยวข้องกับชุมชน กำรขึ้นอยู่กับ

                  ธรรมชำติของกลุ่ม ซึ่งรวมถึงกำรต่อสู้เพื่อให้ได้อ ำนำจในกำรปกครองตนเอง และกำรแบ่งแยกดินแดน
                  3) ควำมขัดแย้งรุนแรงภำยในกลุ่ม รวมถึงกำรรัฐประหำร และกำรต่อสู้กันเพื่อแย่งอ ำนำจภำยในรัฐของ

                  ผู้น ำเพื่อให้มีอ ำนำจในกำรปกครอง (Ramsbotham, Woodhouse, & Miall, 2011) ในมุมมองของ
                                                            2
                  คนท ำงำนด้ำนสันติภำพหลำยท่ำนจำกหลำยส ำนัก เห็นตรงกันว่ำสันติสุขเป็นสิ่งที่ทุกสังคมพึงประสงค์ ควำม
                  รุนแรงเป็นสิ่งที่ไม่พึงปรำรถนำ และต้องหำทำงในกำรเตือนภัยล่วงหน้ำ (Early Warning) ซึ่งสำมำรถกระท ำได้

                  โดย 1)ระบุประเภทและต ำแหน่งของควำมขัดแย้งที่จะกลำยเป็นควำมรุนแรง 2) ตรวจสอบและประเมินว่ำใกล้
                  แค่ไหนที่จะน ำไปสู่ควำมรุนแรง กำรเตือนภัย ล่วงหน้ำจะเป็นกำรท ำงำนที่เน้นข้อมูลอย่ำงเป็นระบบ มีกำรใช้

                  สถิติเข้ำมำในกำรจัดระบบข้อมูล รวมถึงหำสำเหตุของควำมขัดแย้งดังกล่ำว และหำผู้ที่มีศักยภำพในกำรป้องกัน
                  และจัดกำรกับปัญหำควำมรุนแรงที่เกิดขึ้นรวมถึงหำทำงป้องกัน














                  1    ในงำนวิจัยนี้ใช้ค ำว่ำ สันติภำพและสันติสุขในควำมหมำยเดียวกัน เนื่องจำกกำรศึกษำ  peace ที่ผ่ำนมำ มีผู้แปลและใช้
                  ค ำนี้ทั้ง 2 ค ำ คือ สันติภำพและสันติสุขในบริบทที่หลำกหลำย ในงำนวิจัยนี้จึงใช้ค ำนี้สลับกันไปมำ แต่ยังคงใช้ควำมหมำยเดียวกัน
                  2  ศึกษำแนวคิดเพิ่มเติมได้จำกทัศนะ งำนเขียน งำนวิจัยของส ำนักคิดต่ำงๆ ได้เช่น ศูนย์ข่ำวสำรสันติภำพ คณะรัฐศำสตร์
                  มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์ ส ำนักสันติวิธีและธรรมำภิบำล สถำบันพระปกเกล้ำ สถำบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษ ำ
                  มหำวิทยำลัยมหิดล  หลักสูตรสันติศึกษำ มหำวิทยำลัยมหำจุฬำลงกรณรำชวิทยำลัย ศูนย์ควำมร่วมมือทรัพยำกรสันติภำพ (PRC) ฯลฯ
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41