Page 44 - 22825_Fulltext
P. 44

2-4








                       รับรู้ด้านความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน การรับรู้ด้านเสถียรภาพทางการเมืองและอัตรา
                       อาชญากรรม รวมถึงจ านวนครั้งที่มีการสู้รบ การสู้รบกันยังคงด ารงอยู่หรือไม่ มีตัวชี้วัดจ านวน 6 ตัว
                       ประกอบด้วย (1) จ านวนและระยะเวลาของความขัดแย้งภายในประเทศ (2) จ านวนของผู้เสียชีวิต
                       จากความขัดแย้งภายในประเทศ (3) จ านวนของผู้เสียชีวิตจากความขัดแย้งระหว่างภายนอกประเทศ

                       (4) จ านวนระยะเวลา และบทบาทในความขัดแย้งภายนอก (5) ความรุนแรงของความขัดแย้ง
                       ภายในประเทศ และ (6) ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน
                                         1.2) ความปลอดภัยและความมั่นคงในสังคม (Societal Safety and Security)
                       หมายถึงจ านวนความตึงเครียดของสงคราม และความรุนแรงทั้งภายในและนอกประเทศ โดยวัด

                       จากจ านวนผู้ลี้ภัยจากสงคราม จ านวนของการฆาตกรรม จ านวนประชากรในเรือนจ า จ านวน
                       เจ้าหน้าที่ฝ่ายความมั่นคง วัดความสูญเสียจากการก่อการร้าย วัดการรับรู้ด้านความไว้วางใจต่อคนใน
                       สังคม ด้านนิติธรรมในสังคม ความมีเสถียรภาพทางการเมืองว่ามีมากน้อยเพียงใด และผลกระทบจาก
                       การประท้วงว่าจะมีมากน้อยเพียงใดในอนาคต โดยมีตัวชี้วัด จ านวน 10 ตัว ประกอบด้วย (1) ระดับ

                       การรับรู้ต่ออาชญากรรมหรือการท าผิดกฎหมายในสังคม (2) จ านวนผู้ลี้ภัยและผู้พลัดถิ่นภายในประเทศ
                       คิดเป็นร้อยละของประชากร (3) เสถียรภาพทางการเมือง (4) ระดับความหวาดกลัวทางการเมือง (5)
                       ผลกระทบของการก่อการร้าย (6) จ านวนคดีฆาตกรรมต่อประชากร 100,000 คน (7) ระดับของการ

                       ก่ออาชญากรรม(8) โอกาสที่จะเกิดการชุมนุมที่น าไปสู่ความรุนแรง (9) จ านวนของประชากรใน
                       เรือนจ าต่อประชากร 100,000 คน และ (10) จ านวนของเจ้าหน้าที่ความมั่นคงและต ารวจ ต่อ
                       ประชากร 100,000 คน
                                         3) การทหาร (Militarization) หมายถึง งานด้านการทหารและการสนับสนุน
                       ปฏิบัติการสันติภาพทางทหารของสหประชาชาติ เป็นการประเมินค่าใช้จ่ายทางการทหารว่ามีมาก

                       หรือน้อยในเชิงเปรียบเทียบกับผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (GDP) รวมถึงประเทศต่าง ๆ เพื่อ
                       สนับสนุนเงินให้สหประชาชาติรักษาสันติภาพมากน้อยเพียงใด และวัดจ านวนของอาวุธ และบุคลากร
                       ในกองทัพ อีกทั้งประเมินว่าการเข้าถึงอาวุธขนาดเล็กท าได้โดยง่ายหรือไม่ โดยมีตัวชี้วัดจ านวน 7 ตัว

                       ประกอบด้วย (1) ค่าใช้จ่ายทางการทหารคิดเป็นกี่ เปอร์เซ็นต์ของ GDP (2) จ านวนของบุคลากรที่
                       ประจ าการในกองทัพต่อประชากร 100,000 คน (3) ปริมาณการน าเข้าอาวุธหนักหรืออาวุธตามแบบ
                       ที่มีบทบาทสูงในการท าสงครามต่อประชากร 100,000 คน (4) ปริมาณการส่งออกอาวุธหนักหรือ
                       อาวุธตามแบบที่มีบทบาทสูงในการท าสงครามในฐานะซัพพลายเออร์ ต่อประชากร 100,000 คน (5)

                       การสนับสนุนทางการเงินเพื่อภารกิจการรักษาสันติภาพของสหประชาชาติ (6) ศักยภาพของอาวุธ
                       นิวเคลียร์ และอาวุธหนัก และ (7) การเข้าถึงอาวุธขนาดเล็กและอาวุธเบา
                                         ทั้ง 23 ตัวชี้วัดนี้ เป็นการวัดทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ โดยวัดจาก 163
                       ประเทศ ตัวชี้วัดเหล่านี้ได้รับการคัดเลือกจากคณะกรรมการอิสระผู้เชี่ยวชาญนานาชาติ (Expert

                       Panel) ในปี 2007 และและได้รับการตรวจสอบโดยคณะกรรมการผู้เชี่ยวชาญเป็นประจ าทุกปี โดย
                       คะแนนของตัวชี้วัดทั้งหมด แต่ละตัวจะถูกท าให้เป็นมาตรฐานในระดับ 1-5 โดยที่ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ
                       จะถูกจัดกลุ่มเป็น 5 กลุ่ม และตัวชี้วัดเชิงปริมาณจะท าให้มีช่วงคะแนนที่ต่อเนื่องกัน ตั้งแต่ 1 ถึง 5 ที่
                       ทศนิยมสามต าแหน่ง จากนั้นค านวณดัชนีถ่วงน้ าหนักองค์ประกอบย่อยสองรายการจากกลุ่มตัวชี้วัด

                       GPI 1) การวัดความสงบภายในประเทศ 2) การวัดว่าภายนอกประเทศมีความสงบสุขเพียงใดการวัด
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49