Page 238 - 22385_Fulltext
P. 238

การศึกษาการบังคับใช้                     การศึกษาการบังคับใช้
 พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย   พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย


 แนวคำถามภาพรวมสำหรับพนักงานเจ้าหน้าที่ และหน่วยงาน      - การรับรู้ถึงการมีอยู่ของกฎหมายฉบับนี้ หรือความตระหนักรู้ถึง

 ผู้บังคับใช้กฎหมาย         สิทธิตามกฎหมายฉบับนี้ของประชาชนทั่วไป รวมทั้งคนกลุ่มเสี่ยง
                            ที่จะถูกเลือกปฏิบัติเป็นอย่างไรบ้างหลังจากมีกฎหมายมา 5 ปี
    - จากประสบการณ์การทำงานของท่าน ท่านพบปัญหาและอุปสรรค

 ในการบังคับใช้พ.ร.บ.ความเท่าเทียมฯ หรือไม่ อย่างไร       - ข้อเสนอแนะอื่น ๆ
    - ท่านเห็นว่า ด้วยกลไกต่าง ๆ ที่มีอยู่ตามกฎหมายฉบับนี้ รวมทั้ง    แนวคำถามสำหรับนักวิชาการด้านกฎหมาย หรือสิทธิและ
 อนุบัญญัติฉบับต่าง ๆ (มีคณะกรรมการหลักสองชุด, กลไกรับเรื่อง  ความเท่าเทียม
 ร้องเรียน, กองทุน) เพียงพอหรือไม่ต่อการทำให้กฎหมายบรรลุ     - หลังจาก พ.ร.บ.ความเท่าเทียมฯ บังคับใช้มากว่า 5 ปี ท่านเห็นว่า

 เจตนารมณ์ในการสร้างความเท่าเทียมระหว่างเพศ หรือขจัดการ  มีบทบัญญัติ หรือข้อกำหนดในกฎหมายข้อใดบ้างหรือไม่
 เลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศในประเทศไทย หากไม่เพียงพอ     ที่ไม่สอดคล้องกับความเป็นจริงในบริบทสังคมไทย หรือไม่สามารถ

 ท่านมีข้อเสนอแนะอย่างไรหรือไม่ (ทั้งในแง่ของการเพิ่มกลไกอื่น ๆ   ใช้ได้จริงในทางปฏิบัติ
 หรือในแง่ของการปรับปรุงกลไกที่มีอยู่แล้ว)       - จากประสบการณ์และมุมมองของท่าน กฎหมายฉบับนี้ รวมทั้ง
    - อำนาจหน้าที่ของคณะกรรมการและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในเรื่อง  อนุบัญญัติที่เกี่ยวข้อง สามารถช่วยสร้างความเสมอภาคระหว่าง
 ใดบ้างที่ท่านคิดว่าเมื่อดำเนินการแล้วช่วยให้กฎหมายฉบับนี้บรรลุ  เพศ หรือช่วยลดปัญหาการเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศในสังคม

 เจตนารมณ์ได้อย่างเป็นรูปธรรม (อย่างไร) มีอำนาจหน้าที่ใดบ้าง  ไทยได้บ้างหรือไม่ เพียงใด หรือจำเป็นต้องมีกฎหมายฉบับอื่น
 หรือไม่ที่ยังไม่เคยถูกบังคับใช้หรือดำเนินการเลย หรือเมื่อ    เพิ่มเติม
 ดำเนินการแล้วก็มิได้ให้ผลใดที่ชัดเจน        - กลไกภาครัฐที่กำหนดอยู่ในกฎหมายฉบับนี้  (คณะกรรมการ,

    - ในมุมมองของท่าน สภาพการณ์ด้านสังคม เศรษฐกิจ เทคโนโลยี   การรับเรื่องร้องเรียน, กองทุนชดเชย ฯลฯ) ช่วยสร้างความเท่าเทียม
 หรือแนวคิดและวิถีชีวิตของประชาชน ณ ปัจจุบันกฎหมายฉบับนี้  ระหว่างเพศให้เกิดขึ้นในสังคมไทยได้จริงหรือไม่ หรือควรต้องได้รับ
 ยังมีความจำเป็น หรือสอดคล้องกับสภาพการณ์ต่างหรือไม่     การปรับปรุงแก้ไข หรือในทางตรงกันข้าม กลไกต่าง ๆ ดังกล่าว

 เพียงใด                    ซ้ำซ้อนหรือขัดแย้งกับกฎหมายฉบับอื่นหรือไม่ อย่างไร
    - หลักจากกฎหมายฉบับนี้ใช้บังคับมากว่า 5 ปี จากประสบการณ์     - มีถ้อยคำ บทนิยาม หรือข้อบทใดในกฎหมายฉบับนี้ รวมทั้ง
 การทำงานของท่าน คิดว่ากฎหมายได้ช่วยสร้างความเสมอภาค  อนุบัญญัติอื่น ๆ บ้างหรือไม่ที่ท่านเห็นควรได้รับการปรับปรุงแก้ไข

 ทางเพศได้จริงหรือไม่ หรือทำให้สถานการณ์การเลือกปฏิบัติลดลง     - จากประสบการณ์ และความรับรู้ของท่าน มีผลข้างเคียงอันไม่พึง
 ได้บ้างหรือไม่ หรือไม่มีความเปลี่ยนแปลงใด ๆ ที่มีนัยสำคัญ
                            ปรารถนาใดเกิดขึ้นจากการบังคับใช้กฎหมายฉบับนี้บ้างหรือไม่
                            อย่างไร


 222  สถาบันพระปกเกล้า                                            สถาบันพระปกเกล้า   223
   233   234   235   236   237   238   239   240   241   242   243