Page 202 - 22385_Fulltext
P. 202
การศึกษาการบังคับใช้ การศึกษาการบังคับใช้
พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย
อย่างไรก็ดี ความคิดเห็นต่อประเด็นนี้ ผู้ศึกษาพบว่า หาได้ขัดแย้ง ความล้มเหลวที่เกิดขึ้นนี้ ผู้ให้สัมภาษณ์ทั้งที่เป็นนักวิชาการและ
และยังคงสอดคล้องกับแนวความเห็นในข้อที่ 1) เพราะแม้ผู้ให้สัมภาษณ์ ภาคประชาสังคมเห็นว่าเป็นปัญหาทั้งในแง่ของการประชาสัมพันธ์ไม่มากและ
ส่วนใหญ่จะยังไม่เห็นว่าการเลือกปฏิบัติลดน้อยลงภายหลังมีกฎหมายฉบับนี้ ไม่กว้างขวางเพียงพอ และในแง่ของรูปแบบที่ใช้เพื่อการสื่อสารที่ยังอาจเข้าใจยาก
แต่คุณูปการของกฎหมายฉบับนี้ ก็คือ ทำให้สถานการณ์การเลือกปฏิบัติด้วย หากเปรียบเทียบกับการใช้สื่อประชาสัมพันธ์ของหน่วยงานรัฐหรือกึ่งรัฐ
เหตุความแตกต่างทางเพศ และเพศสภาพจำนวนหนึ่งเริ่มปรากฏตัวให้เห็น อาจดูเปรียบเทียบกับการใช้สื่อของ สสส. ที่สามารถใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เด่นชัดขึ้นในสังคมไทย จากที่เคยถูกกดทับไว้ทั้งหมดก่อนปี 2558 แต่เมื่อ และทำให้ประชาชนเข้าใจได้ง่ายกว่า และในความเป็นจริงแล้วไม่จำเป็นต้อง
มีช่องทางให้ร้องเรียนได้คนที่ถูกเลือกปฏิบัติจำนวนหนึ่งที่มีความพร้อม ใช้งบประมาณสูงเท่ากับ สสส. สื่อที่มีประสิทธิภาพก็ยังมีความเป็นไปได้
ก็อาศัยกฎหมายฉบับนี้ในการเรียกร้องความเป็นธรรมและยืนยันสิทธิของตน ในกรณีของความเท่าเทียมระหว่างเพศ แม้จะปรากฎว่าหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ในขณะเดียวกันคนทำงานด้านนี้ก็สามารถอาศัยการอ้างอิงกฎหมายโดยตรง (กรมกิจการสตรีฯ) มีความพยายามในการประชาสัมพันธ์ด้วยรูปแบบและ
เพื่อป้องปรามการเลือกปฏิบัติได้ ช่องทางที่หลากหลายอย่างเว็บไซต์ เพจ Facebook แผ่นพับ คู่มือ เอกสาร
ดิจิทัล ฯลฯ แต่ลักษณะการสื่อสารยังไม่สามารถทำให้คนในสังคมเข้าใจได้ง่าย
2.3 ระดับของความตระหนักรู้ถึงสิทธิ หน้าที่ ความเสมอภาค หรือมองเห็นภาพว่าการกระทำอย่างไรคือการเลือกปฏิบัติ อย่างไรก็ดี ปัญหา
ระหว่างเพศ และการห้ามเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศของ ดังกล่าวอาจเกิดได้จากหลายสาเหตุตั้งแต่ปัญหาความไม่คล่องตัวหรือ
คนในสังคมไทย ข้อจำกัดในการใช้งบประมาณจากกองทุน ข้อจำกัดด้านทรัพยากรบุคคล
มีงานวิจัยหลายชิ้นแสดงให้เห็นว่าความรับรู้ถึงการมีอยู่ของ ปัญหาที่เกี่ยวกับทัศนคติและกรอบคิด หรือปัญหาการให้ความสำคัญกับการทำ
กฎหมายฉบับนี้ รวมทั้งสิทธิในการร้องเรียน หรือใช้กลไกตามกฎหมาย ประชาสัมพันธ์ที่ทำให้คนเข้าใจหรือเข้าถึงได้ง่าย นอกจากนี้ ในที่สุดแล้ว
ยังต่ำอยู่มาก ทั้งยังปรากฎแนวคิดประปรายว่าการถูกเลือกปฏิบัติที่เกิดขึ้น อาจเป็นปัญหาที่ฝ่ายผู้รับสารเองด้วยได้ เพราะต่อให้รัฐประชาสัมพันธ์อย่าง
ในสังคมไทยนั้นไม่ถือเป็นเรื่องต้องแปลกใจ ซึ่งผู้ให้สัมภาษณ์ในงานศึกษานี้ ทั่วถึงแล้วทั้งไม่ยากเลยที่จะทำความเข้าใจ แต่หากคนในสังคมยังไม่ค่อยสนใจ
เห็นว่าเป็นความล้มเหลวข้อหนึ่งของการบังคับใช้กฎหมาย ส่วนเหตุผล ยังไม่ได้มองว่าความเสมอภาคทางเพศเป็นเรื่องสำคัญตราบใดที่ตนไม่ได้
ที่สังคมไทยในระยะหลังเริ่มมีการถกเถียงกันในประเด็นการเลือกปฏิบัติ เป็นเหยื่อ ก็มักมีความคิดว่าตนไม่จำเป็นต้องรู้ หรือจนถึงปัจจุบันอาจยังไม่รู้
ด้วยเหตุแห่งเพศมากขึ้น ไม่ได้เป็นผลพวงมาจากการมีกฎหมาย แต่เป็น ด้วยซ้ำว่าตัวเองกำลังตกเป็นเหยื่อของการถูกเลือกปฏิบัติอยู่ ซึ่งถ้า
เพราะกระแสสิทธิมนุษยชนระดับโลก คนรุ่นใหม่เปิดกว้างสำหรับเรื่องนี้ และ ความเข้าใจยังอยู่จุดนี้ ก็ไม่มีทางเข้าถึงใจกลางของปัญหา และแก้ไขให้
มองความหลากหลายทางเพศเป็นเรื่องธรรมดามากขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศ สถานการณ์เรื่องนี้ดีขึ้นได้ สุดท้ายการมีอยู่ของกฎหมายจึงอาจไม่ได้ช่วยให้
โซเชียลมีเดียที่ทำให้การเข้าถึงข้อมูลต่าง ๆ เรื่องสิทธิและความเสมอภาค สถานการณ์การเลือกปฏิบัติในประเทศไทยดีขึ้นได้เลย เพราะกฎหมาย
รวมทั้งการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ เหล่านี้ทำได้ง่าย รวดเร็ว ไม่สามารถเปลี่ยนแปลงในระดับทัศนะคติของคนในสังคมได้
และมีเสรีภาพมากขึ้น
186 สถาบันพระปกเกล้า สถาบันพระปกเกล้า 187