Page 204 - 22385_Fulltext
P. 204
การศึกษาการบังคับใช้ การศึกษาการบังคับใช้
พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย พระราชบัญญัติความเท่าเทียมระหว่างเพศ พ.ศ. 2558 เพื่อประเมินผลสัมฤทธิ์ของกฎหมาย
อนึ่ง ผู้ให้สัมภาษณ์ในภาคประชาสังคมบางคนเห็นว่าเป้าหมาย ด้วยสาเหตุหลากหลายประการ กล่าวคือ
หลักและกรอบการทำงานของรัฐน่าจะขับเน้นไปที่การทำความเข้าใจกับ 1.1) ภาครัฐให้น้ำหนักกับ “การรับเรื่องร้องเรียน” และ
หน่วยงานภาครัฐด้วยกันเอง จึงไม่ได้เต็มที่กับส่วนของการสร้างความรับรู้ การวินิจฉัยการเลือกปฏิบัติผ่านกลไกคณะกรรมการ วลพ. มากกว่าการแก้ไข
ของสังคม แต่อย่างน้อยที่สุดกฎหมายฉบับนี้ก็ช่วยทำให้คนที่รู้ว่ามีกฎหมาย ปัญหาในระดับโครงสร้าง ทั้งที่ก่อนปี พ.ศ. 2558 นักวิชาการและ
แล้วได้ตระหนักในสิทธิและความหลากหลายทางเพศของผู้อื่นมากขึ้น ทั้งคอย ภาคประชาสังคมที่ร่วมกันผลักดันกฎหมายต่างมุ่งหวังให้กฎหมายฉบับนี้
ระมัดระวังไม่ให้เกิดการเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศ หรือถ้าเป็นหน่วยงาน เป็นเครื่องมือในการส่งเสริมความเสมอภาคเป็นหลัก ซึ่งต่อมากฎหมาย
สถาบันการศึกษา หรือองค์กรภาครัฐการมีอยู่ของกฎหมายฉบับนี้ก็อาจมีส่วน กำหนดให้เป็นอำนาจหน้าที่และบทบาทของคณะกรรมการ สทพ.
ช่วยทำให้เกิดการปรับตัวมากกว่า เช่น คณะนิติศาสตร์ ของมหาวิทยาลัย (มาตรา 10) เนื่องจากเป็นช่องทางในการสร้างความเปลี่ยนแปลงเชิงนโยบาย
แห่งหนึ่งแก้ระเบียบการแต่งกายรับปริญญาหลังจากรู้ว่ามีกฎหมายฉบับนี้ โครงสร้าง และกฎหมายอื่น ๆ ในภาพรวม ซึ่งจะนำไปสู่ความเสมอภาค
เป็นต้น นอกจากนี้ การมีกฎหมายยังน่าจะเห็นเหตุที่ทำให้สื่อมวลชน และช่วยลดการเลือกปฏิบัติในสังคมได้อย่างยั่งยืน เมื่อการขับเน้นของภาครัฐ
สำนักต่าง ๆ เริ่มหันมาให้ความสนใจจับประเด็นนี้มากขึ้น มีการทำข่าว อยู่ที่การทำงานของคณะกรรมการ วลพ. ในช่วงเวลาที่ผ่านมาสถานการณ์
ทำสกรูปหรือกิจกรรม ซึ่งย่อมทำให้คนในสังคมตระหนักรู้ได้อีกทางหนึ่ง
การเลือกปฏิบัติในประเทศไทยจึงถูกแก้ไขเป็นการเฉพาะเรื่องเฉพาะ
2.4 มุมมองต่อบทบาท การดำเนินงานและสภาพปัญหา รายเท่านั้นผ่านคำวินิจฉัยของคณะกรรมการ วลพ. หาได้สร้าง
ของกลไกหลักที่กฎหมายฉบับนี้สร้างขึ้น ความเปลี่ยนแปลงในสาระสำคัญหรืออย่างเป็นมหภาคไม่ เนื่องจาก
ตามกฎหมายแล้วคำวินิจฉัยของคณะกรรมการ วลพ. มีผลผูกพันเฉพาะ
(1) คณะกรรมการส่งเสริมความเท่าเทียมระหว่างเพศ (สทพ.)
คู่กรณีเท่านั้น มิได้ส่งผลต่อกฎหรือระเบียบที่มีปัญหาทำนองเดียวกันของ
ผู้ให้สัมภาษณ์ในทุกกลุ่มมีความคิดเห็นสอดคล้องไปในทาง หน่วยงานอื่น ๆ ปัญหานี้ถูกสะท้อนให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรมโดยเรื่อง
เดียวกันว่า แม้ตามกฎหมายแล้วคณะกรรมการ สทพ. นับเป็นกลไก ที่ถูกร้องเรียนมายังคณะกรรมการ วลพ. เพราะจำนวนมากเป็นการร้องเรียน
ที่กฎหมายเขียนให้อำนาจหน้าที่ไว้ค่อนข้างมาก อีกทั้งมีความสำคัญต่อ ในเรื่องเดิมหรือมีประเด็นเดียวกันกับเรื่องที่คณะกรรมการ วลพ. เคยวินิจฉัย
การสร้างความเปลี่ยนแปลงในระดับนโยบาย และการแก้ไขปัญหาเรื่องนี้ ไปแล้ว ซึ่งย่อมหมายความว่าแม้คณะกรรมการ วลพ. จะเคยชี้ไว้แล้วว่ากฎ
ในเชิงโครงสร้างได้มากที่สุด แต่ในช่วงระยะเวลา 5 ปีของการบังคับใช้ หรือระเบียบนั้นไม่เป็นธรรมหรือเข้าข่ายเป็นการเลือกปฏิบัติ แต่กฎระเบียบ
พ.ร.บ.ความเท่าเทียมฯ คณะกรรมการ สทพ. กลับมีบทบาทหรือทำหน้าที่ ในลักษณะเดียวกันนี้ก็ยังคงใช้อยู่และทำหน้าที่เลือกปฏิบัติต่อไปในหน่วยงาน
น้อยที่สุดในบรรดาสามกลไกที่กฎหมายกำหนดขึ้น ซึ่งกลายเป็นปัจจัยสำคัญหนึ่ง หรือองค์กรอื่น ๆ ที่ยังไม่เคยถูกร้องเรียนเข้ามา ซึ่งปัญหาลักษณะนี้ควรยุติ
ที่ทำให้กฎหมายฉบับนี้ไม่สามารถบรรลุตามเจตนารมณ์และสถานการณ์ หรือบรรเทาลงได้ด้วยการดำเนินการภายในกรอบอำนาจหน้าที่ของ
การเลือกปฏิบัติด้วยเหตุแห่งเพศไม่ได้รับการแก้ไขอย่างแท้จริง ทั้งนี้ คณะกรรมการ สทพ. (ดูมาตรา 10 (2) และ (4)) อันเป็นการแก้ไขปัญหา
188 สถาบันพระปกเกล้า สถาบันพระปกเกล้า 189