Page 12 - kpi22237
P. 12
7
กิจกรรม/ขั้นตอนการด าเนินงาน เดือนที่
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12
5. เก็บข้อมูลเพิ่มเติมจากตัวแสดงส าคัญ x x x x
และวิเคราะห์ข้อมูล พร้อมจัดท าข้อเสนอ
ในทางนโยบายและกฎหมาย (สัมภาษณ์
เชิงลึก)
6. การจัดเตรียมบทความวิจัยส าหรับ x x x x x
น าเสนอหรือตีพิมพ์
7. เรียบเรียงเป็นเอกสารส าหรับน าเสนอ x x x
และส่งรายงานฉบับสมบูรณ์ (final
report)
(ที่มา: : ผู้วิจัย)
1.5 ประโยชน์ที่คาดหวังจะได้รับ
1.) สังเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคจากกระบวนการและวิธีการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง เพื่อให้ได้
ข้อมูลว่าเหตุใดการด าเนินการตามวิธีการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งที่ก าหนดไว้ในกฎหมาย จึงไม่ได้รับการ
ตอบรับจากพรรคการเมือง
2.) งานวิจัยจะชี้ประเด็นให้เห็นความเชื่อมโยงระหว่าง “วิธีการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้ง” กับ
“การพัฒนาประชาธิปไตย”
3.) สามารถสร้าง “ตัวแบบ” ในการเปลี่ยนแปลง ปรับปรุง หรือปฏิรูปให้เกิดวิธีการสรรหาผู้ลงสมัคร
รับเลือกตั้ง ที่สามารถน าไปใช้ได้จริง
1.6 โครงสร้างของงานวิจัย
รายงานวิจัยฉบับนี้ประกอบได้ด้วยเนื้อหาจ านวนหกบท ประกอบด้วย
บทที่ 1 บทน า ในส่วนนี้ที่กล่าวถึงภาพรวมที่มาของงานวิจัย ความส าคัญของปัญหา เป้าหมายใน
การศึกษาเพื่อตอบค าถามการวิจัย และประโยชน์ที่ได้รับ
บทที่ 2 ทบทวนวรรณกรรม ในส่วนของการทบทวนวรรณกรรม โดยจะกล่าวถึงงานวิจัยและเอกสาร
ทั้งจากต่างประเทศและงานในประเทศไทยที่ศึกษาเกี่ยวข้องกับระบบการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้ง และ
ด าเนินการวางกรอบความคิดรวบยอด (conceptual framework) ในฐานะที่เป็นกรอบแนวการศึกษา
หลักของงาน รวมถึงการส ารวจระบบการสรรหาผู้ลงสมัครรับเลือกตั้งเปรียบเทียบจากประเทศต่างๆ เพื่อ
เชื่อมโยงให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างระบบการสรรหาผู้สมัครรับเลือกตั้งกับการพัฒนาประชาธิปไตย
บทที่ 3 วิธีด าเนินงานวิจัย งานของวิจัยจะกล่าวถึงวิธีการด าเนินการวิจัยด้วยระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพ
ในการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล และวางขอบเขตในการวิจัยส าหรับโครงการนี้ เพื่อตอบค าถาม
การวิจัยทั้งสองประการไม่ว่าจะเป็นเรื่องของปัญหาและอุปสรรคในการน าพระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ