Page 98 - kpi22228
P. 98

90



               ตําแหนงนายกรัฐมนตรี เพื่อจัดการใหมีการรางรัฐธรรมนูญฉบับใหมและใหมีการเลือกตั้งทั่วไปภายใน

               ระยะเวลา 1 ป
                       รัฐบาล พล.อ. สุรยุทธประกอบไปดวยรัฐมนตรีที่เปนผูสูงอายุ ซึ่งสวนใหญเปนขาราชการประจําที่

               เกษียณอายุราชการ จึงถูกเรียกวา “รัฐบาลขิงแก” โดยมีภารกิจหลักซึ่งไดแถลงนโยบายตอสภานิติบัญญัติ

               แหงชาติคือการผลักดันการปฏิรูปการเมือง และแกไขสถานการณความขัดแยงทางการเมืองที่เกิดขึ้นใน
               ขณะนั้น



                       3.1.14 การลงประชามติรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 และการเลือกตั้ง
                       ตามบทบัญญัติในรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว 2549 กําหนดใหมีสภารางรัฐธรรมนูญ (ส.ส. ร.)

               ขึ้นทําหนาที่เปนองคกรในการดําเนินการยกรางรัฐธรรมนูญฉบับ 2550 โดยสมาชิก ส.ส. ร. จะสรรหามาจาก

               สมาชิกสมัชชาแหงชาติ ซึ่งมาจากการสรรหาโดย พล.อ. สนธิ บุญยรัตกลิน ประธานคณะมนตรีความมั่นคง
               แหงชาติ (คมช.) จํานวนไมเกิน 2,000 คน เพื่อลงมติคัดเลือกกันเองใหเหลือ 200 คน จากนั้น คมช.จะทําการ

               คัดเลือกตามสัดสวนดังนี้ จากภาครัฐ 28 คน ภาคเอกชน 27 คน ภาคสังคม 23 คน และภาควิชาการ 22 คน

               เพื่อแตงตั้งเปนสมาชิก ส.ส. ร. จํานวนทั้งสิ้น 100 คน (มาตรา 19, 20, 21, 22, 23, 24 แหง รัฐธรรมนูญแหง
               ราชอาณาจักรไทย (ฉบับชั่วคราว) พ.ศ. 2549)

                       ในการจัดทํารางรัฐธรรมนูญฉบับใหม รัฐธรรมนูญชั่วคราวกําหนดให ส.ส. ร. แตงตั้งคณะกรรมาธิการ

               ยกรางรัฐธรรมนูญขึ้นทําหนาที่จัดทํารางรัฐธรรมนูญฉบับใหมที่มาจากการคัดเลือกกันเองของสมาชิก ส.ส. ร.
               จํานวน 25 คน และจากการแตงตั้งผูทรงคุณวุฒิตามคําแนะนําของประธาน คมช.จํานวน 10 คน รวมเปน

                                                                                              29
               35 คน โดยที่ประชุม ส.ส. ร. มีมติแตงตั้งคณะกรรมาธิการชุดดังกลาวในวันที่ 22 มกราคม 2550
                       เมื่อสภารางรัฐธรรมนูญไดรับรางรัฐธรรมนูญเสร็จ ก็ไดนํารางฯ เขาสูกระบวนการทําประชามติ
               ซึ่งบรรยากาศของการแขงขันรณรงคใหรับหรือไมรับรางรัฐธรรมนูญเปนไปอยางคึกคัก ทั้งนี้เนื่องจาก

               รัฐธรรมนูญฉบับ 2550 ถูกรางขึ้นดวยแนวทางและเจตนารมณในการแกไขจุดออนของรัฐธรรมนูญฉบับ 2540

               คือลดการผูกขาดอํานาจรัฐ เพิ่มอํานาจประชาชน และสงเสริมอํานาจองคกรตรวจสอบ ซึ่งฝายรณรงครับรางฯ
               สงเสริมการลดอํานาจและความมั่นคงของฝายบริหารและพรรคการเมืองลง เพราะชองโหวและจุดออนของ

               กฎหมายจึงทําให พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตรและรัฐบาลพรรคไทยรักไทย ที่แมวามาจากการเลือกตั้งแตมีอํานาจ

               มากเกินไปจนไมสามารถถวงดุลได ในขณะที่ฝายรณรงคไมรับรางฯ มองวารางรัฐธรรมนูญฉบับใหมมีปญหาใน

               29  นาวาอากาศตรี ประสงค สุนศิริ เปนประธานคณะกรรมาธิการ จรัญ ภักดีธนากุล และวิชา มหาคุณ เปนรองประธาน สมคิด
               เลิศไพฑูรย เปนเลขานุการคณะกรรมาธิการ ธงทอง จันทรางศุ เปนโฆษกคณะกรรมาธิการ นครินทร เมฆไตรรัตน ประพันธ

               นัยโกวิท สดศรี สัตยธรรม สุพจน ไขมุกด และอังคณา นีละไพจิตร เปนกรรมาธิการ เปนตน สัดสวนสาขาอาชีพใน
               คณะกรรมาธิการยกรางฯ ซึ่งในบรรดา 35 คน ประกอบดวยขาราชการระดับสูง 11 คน นักวิชาการ 8 คน อดีตผูพิพากษา 5

               คน ผูดํารงตําแหนงในองคกรอิสระ 2 คน อดีตอัยการ 2 คน ภาคธุรกิจ 2 คน ทนายความ อดีตนักการเมือง ขาราชการทหาร
               สื่อมวลชน และตัวแทนภาคประชาสังคมอีกฝายละ 1 คน
   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103