Page 128 - kpi22228
P. 128

120



               ขณะที่มีการประกาศใชรัฐธรรมนูญฉบับใหม โดยพรรคประชาธิปตยเสนอชื่อชวน หลีกภัยเปนนายกรัฐมนตรี

               และในทามกลางการแขงขันระหวางพรรคการเมืองก็เกิดการปรับเปลี่ยนกติกาทางการเมืองนับเนื่องจาก
               รัฐบาลบรรหารที่ใหมีสภารางรัฐธรรมนูญฉบับใหม กอนหนานั้น

                       การเมืองภายใตรัฐธรรมนูญฉบับปฏิรูปการเมือง หรือ รัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540

               เปนผลพวงของความพยายามแกปญหาทางการเมืองไทย ในรอบหลายทศวรรษที่ผานมาไดแกปญหา
               เสถียรภาพของรัฐบาลผสม การแทรกแซงทางการเมืองของกองทัพ การควบคุมและตรวจสอบนักการเมืองและ

               ขาราชการระดับสูง ประสิทธิภาพการบริหารราชการแผนดิน ทําใหการออกแบบรัฐธรรมนูญมีความโนมเอียง

               ไปสูการออกแบบใหเกิดพรรคการเมืองขนาดใหญที่สามารถตั้งรัฐบาลพรรคเดียวได พรอมกับระบบตรวจสอบ
               การทํางานภาครัฐที่เขมขนขึ้น  ในแงนี้การแขงขันระหวางพรรคการเมืองจําเปนโอกาสเดียวที่จะเขาไปใช

               อํานาจการเมืองในการบริหารราชการแผนดิน การสรางนโยบายที่มีผลทางการเมืองและเปนประโยชน

               ตอประชาชน ทําใหพรรคไทยรักไทยไดรับโอกาสในการตั้งรัฐบาลจากความไววางใจของประชาชนผาน
               การเลือกตั้ง ซึ่งพรรคไทยรักไทยใชนโยบายเปนผลิตภัณฑทางการเมือง การมีผูนําพรรคที่มีภาพลักษณเปน

               นักบริหารกอบกูวิกฤตการณทางเศรษฐกิจ ทําใหพรรคไทยรักไทยเปนผลิตภัณฑทางการเมืองดวย ประกอบกับ

               การใชกลยุทธทางการตลาดอยางตระหนักรู ทําใหพรรคไทยรักไทยประสบความสําเร็จในการเลือกตั้งมาก
                       อยางไรก็ดี พรรคไทยรักไทยก็หนีไมพนขอกลาวหาเรื่องการทุจริตเชิงนโยบาย โดยเฉพาะนโยบายที่

               ถูกตราวาเปนประชานิยม ในที่สุดก็เกิดความขัดแยงและเปดชองใหกองทัพเขาแทรกแซงทางการเมืองอีกครั้ง

               หนึ่ง หลังจากถูกกันออกจากการเมืองหลังเหตุการณนองเลือดในป 2535
                       การรัฐประหาร 19 กันยายน 2549 เขามาขัดจังหวะการพัฒนาประชาธิปไตยและบทบาทของพรรค

               การเมือง ทําใหแนวคิดเรื่องการสรางผลิตภัณฑทางการเมืองผานนโยบายตองลดลงอยางมีนัยสําคัญ ประกอบ

               กับพรรคการเมืองอื่น ๆ ไมสามารถสรางความเชื่อมั่นในการดําเนินนโยบายในแบบพรรคไทยรักไทย พรรคพลัง
               ประชาชนและพรรคเพื่อไทยได

                       จะเห็นไดวาการเขียนรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 แสดงถึงความไมไววางใจฝาย

               การเมือง และลดอํานาจภาคการเมือง เพิ่มอํานาจภาคราชการอยางมีนัยสําคัญ การเปลี่ยนแปลง
               ในทางการเมืองที่สําคัญคือพรรคการเมืองมีความระมัดระวังในการดําเนินนโยบายมา และเห็นไดชัดวาภายหลัง

               จากการเลือกตั้ง 23 ธันวาคม 2550 พรรคพลังประชาชนไดรับเลือกตั้งและสามารถตั้งรัฐบาลเสียงขางมากได

               และแมวาสมัคร สุนทรเวชจะถูกปลดก็ยังสามารถดําเนินการทางการเมืองโดยสมชาย วงศสวัสดิ์ตอได
               จนกระทั่งถูกพลังจากภาคราชการและกลุมตอตานทักษิณกดดันใหยุบพรรคพลังประชาชนจนพรรค

               ประชาธิปตยโดยอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะสามารถตั้งรัฐบาลได แตก็แลกมาดวยวิกฤตการณความชอบธรรม

               ทางการเมืองจนเกิดเหตุนองเลือดในป 2553 จนตองยุบสภา เปดทางใหเลือกตั้งใหม 3 กรกฎาคม 2554
               ซึ่งพรรคเพื่อไทยไดเสียงขางมากเด็ดขาดถึง 265 เสียงและรวมกับพรรคอื่นจัดตั้งรัฐบาลรวม 300 เสียง จาก

               จํานวนทั้งหมด 500 เสียง
   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132   133