Page 127 - kpi22228
P. 127

119



                       เมื่อผานพนยุคประชาธิปไตยครึ่งใบ การแขงขันทางการเมืองในการเลือกตั้งกลายมาเปนพื้นที่ยิ่งยวด

               ของการแขงขันที่ทําใหคนนอกภาคราชการสามารถเขาไปเปนผูกําหนดนโยบายได พรรคชาติไทยภายใต
               พลเอก ชาติชาย สามารถสรางนโยบายเปลี่ยนสนามรบเปนสนามการคาได รัฐบาลผสมจากหลายพรรค

               สามารถสรางสมดุลไดโดยผานการเจรจาผานมุงตาง ๆ และหมุนเวียนกันเขาสูตําแหนงรัฐมนตรี ทําใหสามารถ

               สรางเสถียรภาพทางการเมืองในระดับหนึ่ง แตยังไมสามารถคัดคานกับกองทัพได ซึ่งในที่สุดก็เกิดการ
               รัฐประหาร 23 กุมภาพันธ 2534 กอนที่รัฐบาลพลเอก ชาติชายจะครบวาระ 4 ป

                       หลังรัฐประหาร 23 กุมภาพันธ 2534 คณะรัฐประหาร รสช. พยายามสรางความตอเนื่องในการครอง

               อํานาจของตัวเองโดยการสรางพรรคสามัคคีธรรม ในทํานองเดียวกับที่จอมพล ป. พิบูลสงคราม จอมพล สฤษดิ์
               ไดกระทํามา พรรคสามัคคีธรรมประสบชัยชนะ แตไมเด็ดขาด ทําใหตองอาศัยพรรคการเมืองอื่นมารวมรัฐบาล

               แตการโอนถายอํานาจขัดของทําใหหัวหนาคณะรัฐประหารตองมาดํารงตําแหนงนายกรัฐมนตรีเอง จึงทําให

               เกิดการตอตานอยางแข็งขันและนองเลือดในที่สุด
                       เมื่อเกิดเหตุการณพฤษภาคม 2535บรรดาพรรคการเมืองที่เคยรวมรัฐบาลและยังแสดงเจตจํานง

               รวมรัฐบาลตอไปก็จะถูกติดฉลากวาเปนพรรคมาร สวนพรรคการเมืองที่สนับสนุนฝายประชาธิปไตยจะถูกจัด

               ใหอยูฝายพรรคเทพ การแบงขั้วพรรคการเมืองดังกลาวสงผลตอการเลือกตั้ง 13 กันยายน 2535 ทําใหพรรค
               ประชาธิปตยไดรับเสียงถึง 79 ที่นั่ง สามารถเปนแกนนําจัดตั้งรัฐบาลผสมได แตความทาทายใหมของพรรค

               การเมืองในระยะนี้ก็คือความพยายามเรียกรองจากประชาสังคมที่ตองการเขามามีสวนในการตรวจสอบ กํากับ

               การทํางานของรัฐบาลเนื่องจากบทเรียนในอดีต ทําใหภาพลักษณของนักการเมืองไมเปนที่ศรัทธาและไววางใจ
               กระทั่งรัฐบาลนายชวน หลีกภัยเองก็ตองยุบสภาเพื่อเลี่ยงการอภิปรายไมไววางใจแลวจัดใหมีการเลือกตั้ง

               ในวันที่ 2 กรกฎาคม 2538 ซึ่งเขาสูยุคของการรณรงคหาเสียงในยุคสื่อสารมวลชนแพรหลาย ดังที่มีผูชี้วามี

               พรรคการเมืองทุมเงินจางบริษัทโฆษณามาชวยวางแผนหาเสียง ไดแก พรรคนําไทยและพรรคพลังธรรมที่ใชเงิน
               ซื้อสื่อโทรทัศนและสิ่งพิมพ 4-50 ลานบาท

                       อยางไรก็ดี ผูมีชัยชนะการเลือกตั้งครั้งนั้นกลับเปนพรรคชาติไทยภายใตการนําของบรรหาร ศิลปอาชา

               ไดจัดตั้งรัฐบาลผสม 7 พรรค ขึ้น รัฐบาลบรรหารประนีประนอมกับกลุมตาง ๆ โดยเฉพาะการสนองตอบตอขอ
               เรียกรองใหมีการปฏิรูปการเมืองโดยการรางรัฐธรรมนูญใหม โดยการแกไขรัฐธรรมนูญมาตรา 211 ใหมีสภา

               รางรัฐธรรมนูญจากการเลือกตั้ง แตรัฐมนตรีบางคนในรัฐบาลถูกตั้งคําถามอยางมากในกรณีทุจริตและ

               ถูกอภิปรายไมไววางใจ เพื่อกดดันใหนายบรรหารลาออก เปดทางให กลุมอื่นขึ้นดํารงตําแหนง แตรัฐบาล
               บรรหารตัดสินใจยุบสภา ทําใหเกิดการเปลี่ยนขั้วทางการเมือง กอนการเลือกตั้งทั่วไป 17 พฤศจิกายน 2539

               ผลการเลือกตั้งทําใหพรรคความหวังใหมโดยพล.อ. ชวลิต ยงใจยุทธไดรับเอกตั้งถึง 125 ที่นั่ง ควรกลาวดวยวา

               ระหวางที่พล.อ. ชวลิตเปนผูบัญชาการกองทัพบกไดจัดทําโครงการฮารับปนปารู (เปนภาษายาวี แปลวา
               ความหวังใหม) ซึ่งเปนโครงการพัฒนาขนาดใหญในสามจังหวัดชายแดนภาคใตจึงนํามาเปนชื่อพรรคการเมือง

               ของตน แตรัฐบาลชวลิตเผชิญกับมรสุมเศรษฐกิจตกต่ําอยางรวดเร็ว โดยเฉพาะการโจมตีคาเงินบาท

               ทําใหตองลาออกจากตําแหนงนายกรัฐมนตรีทามกลางวิกฤตการณเศรษฐกิจตกต่ําทั่วโลก (หรือตมยํากุง)
   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131   132