Page 35 - kpi21662
P. 35

ตารางที่ 1 ตัวอย่างตารางวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย

                                                        ควรรวมเข้ามาพิจารณา
                  ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย  การมีส่วนร่วม/เกี่ยวข้อง   ในการวัดผลลัพธ์ทางสังคม
                                                          หรือไม่ เพราะอะไร




                 ที่มา: สฤณี อาชวานันทกุล และภัทราพล แย้มลออ (2560).


                      ขั้นตอนในวิเคราะห์ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย มีดังนี้
                      (1) ระบุผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องกับการสร้างผลลัพธ์ทางสังคม

                 ของโครงการ การระบุควรมีความชัดเจนและเฉพาะเจาะจง เช่น ผู้สูงอายุ
                 คนยากจน นักเรียน ประชาชนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนั้น

                      (2) ระบุลักษณะการมีส่วนร่วมหรือเกี่ยวข้องกับโครงการในการ        คู่มือการประเมินผลลัพธ์ทางสังคมของโครงการพัฒนาท้องถิ่น
                 สร้างผลลัพธ์ทางสังคม เช่น ผู้ได้รับผลลัพธ์ทางสังคมจากโครงการ ทั้งทาง
                 บวกและทางลบ ทั้งทางตรงและทางอ้อม ผู้ดำเนินโครงการหรือพันธมิตร

                      (3) พิจารณาว่าจะรวมผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละกลุ่มเข้ามาใน

                 กระบวนการประเมินหรือไม่ โดยพิจารณาจากความเกี่ยวข้องกับการสร้าง
                 ผลลัพธ์ของโครงการ รวมทั้งข้อมูลที่ได้จากผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมีความสำคัญ
                 ในการระบุผลลัพธ์ทางสังคมมากน้อยเพียงใด


                 เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอนการระบุผลลัพธ์ที่วัดได้ (Quantify
                 Outcome)

                      1. ห่วงโซ่ผลลัพธ์ (Impact Value Chain)

                        ห่วงโซ่ผลลัพธ์ (Impact Value Chain) คือ การแจกแจงกิจกรรม
                 (Activity) และผลผลิต (Output) ที่จะทำให้ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง



                                                             สถาบันพระปกเกล้า   2
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40