Page 33 - kpi21662
P. 33
แผนภาพที่ 2 กรอบแนวคิดในการประเมินผลลัพธ์ทางสังคมและ
ผลตอบแทนทางสังคมของโครงการ
แปลงเป็นมูลค่า
ระบุผลลัพธ์ที่วัดได้
นิยาม (Define) ทางการเงิน
(Quantify)
(Monetize)
ผลผลิต เป้าหมายและพันธกิจ ชุดตัวชี้วัดที่สะท้อน ผลตอบแทนทางสังคม
เครื่องมือที่ใช้ - การวิเคราะห์ - ห่วงโซ่ผลลัพธ์ - การคำนวณ
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Impact value เปรียบเทียบต้นทุนกับ
(Stakeholder chain) ประโยชน์ (CBA)
analysis) - กรณีฐาน - การให้ค่าแทนทาง
- ทฤษฎี (Base case) การเงิน
การเปลี่ยนแปลง (Financial proxy)
(Theory of change) กับผลลัพธ์ทางสังคม
กิจกรรม กิจกรรมที่ 1 - 3 กิจกรรมที่ 4 – 7 กิจกรรมที่ 8 – 10
ขอบเขตการประเมินผลลัพธ์ทางสังคม คู่มือการประเมินผลลัพธ์ทางสังคมของโครงการพัฒนาท้องถิ่น
(Social Impact Assessment: SIA)
ขอบเขตการคำนวณผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน
(Social Return on Investment: SROI)
ที่มา: ปรับปรุงจาก สฤณี อาชวานันทกุล และภัทราพล แย้มลออ (2560).
เครื่องมือที่ใช้ในขั้นตอน “นิยาม” เป้าหมายและพันธกิจทาง
สังคมของโครงการ (Define)
1. ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลง (Theory of Change)
ทฤษฏีการเปลี่ยนแปลงจะใช้เพื่ออธิบายว่า หากดำเนินโครงการ
ไปแล้ว กิจกรรมใดควรเป็นกิจกรรมหลัก ปัญหาทางสังคมใดบ้าง
ที่เปลี่ยนแปลงไป และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียกลุ่มใดที่จะได้รับประโยชน์จาก
สถาบันพระปกเกล้า 2