Page 74 - kpi21588
P. 74

ร่างรายงาน บทบาทของพลเมืองในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเลือกตั้งที่ไม่สุจริตเที่ยงธรรม เพื่อพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของประชาธิปไตยไทย   4-34





                                            “จะต้องมีแหล่งข้อมูลที่ประชาชนสามารถตรวจสอบว่าคน ๆ นี้ในช่วงที่ไม่มีการ
                                            เลือกตั้งเขามีทัศนคติ หรือมีพฤติกรรมอย่างไร อันนี้มีคนพยายามท าอยู่ แต่มันท าไม่

                                            ส าเร็จเพราะว่ามีปัญหาทางด้านกฎหมายเยอะมาก”

                                                                                ความเห็นจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ
                                                                                                    กลุ่มนักวิชาการ


                                     (3) กกต. ต้องร่วมมือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาช่องทางที่มีความปลอดภัยให้

                       ประชาชน เข้ามาแจ้งเบาะแส ช่วยสอดส่องดูแลการเลือกตั้ง โดยเฉพาะทางออนไลน์/ผ่านระบบเทคโนโลยี

                       สารสนเทศ ในเรื่องนี้เป็นประเด็นที่เกี่ยวเนื่องกับข้อเสนอเรื่องการจัดท าฐานข้อมูล หลายฝ่ายสะท้อนว่า
                       สามารถท าได้และสอดรับกับความสามารถของคนในยุคปัจจุบัน โดยเฉพาะเด็กและเยาวชน ที่สามารถใช้และ

                       เข้าถึงช่องทางออนไลน์ต่าง ๆ ได้ หรือ แม้ผู้ใหญ่ก็สามารถปรับตัวให้เข้ากับเทคโนโลยีดิจิทัลได้มากขึ้นแล้ว



                                            “ถ้าให้ประชาชนเป็นหูเป็นตา จะมีประโยชน์มากเลย ถ้าเรามีระบบการรับข้อมูล
                                            การตรวจสอบข้อมูล ยกตัวอย่างเช่น สมมุติว่า เราท าแอพพลิเคชันที่สามารถเข้าถึง

                                            คนทุกคน ให้เขาคอยรายงานว่ามีเหตุการณ์อะไรที่มันส่อว่าจะมีการผิดปกติ รายงาน
                                            ขึ้นมา ถ้าเราฝึกให้ข้อมูลกับอาสาสมัครจ านวนหนึ่ง ให้ท าหน้าที่คอยตรวจสอบข้อมูล

                                            มีประจ าทุกต าบล อย่างน้อยทีมละต าบล หน่วยเคลื่อนที่เร็วคอยไปดู คอยไปรับ
                                            ข้อมูล การเลือกตั้งก็จะสุจริตเที่ยงธรรมมากขึ้น ”

                                                                                ความเห็นจากการสัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ

                                                                                                กลุ่มภาคประชาสังคม


                                            “เพียงแค่การถ่ายรูป แล้วก็สามารถโพสต์ต่อสาธารณะก็ช่วยได้แล้ว แต่ว่าก็ต้องมี

                                            ระบบในการช่วยป้องกันคุ้มครองประมาณนั้น หลายต่อหลายอย่างโดยเทคโนโลยี
                                            เรามีมือถือ การที่นายอ าเภอไปพูดบนเวที เราก็ถ่ายได้แล้วว่า คุณพูดสนับสนุนฝ่าย

                                            ใดฝ่ายหนึ่ง การที่เอาเงินมาแจกในหมู่บ้าน เราก็แอบถ่ายได้อย่างนี้เป็นต้น  หรือ

                                            กรรมการนับคะแนนไม่เป็นกลาง หรือว่านับแล้วเอนเอียงไปฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง บัตรใบนี้
                                            ฝ่ายนี้ก็บอกบัตรเสีย บัตรนี้ก็บอกบัตรดีอะไรก็แล้วแต่ท านองนี้ ก็ถ่ายภาพได้หมด

                                            เพราะฉะนั้นประชาชนสามารถที่จะร่วมเก็บหลักฐานต่างๆ ส่ง กกต.ได้ โดยไม่ยาก
                                            อยู่แล้ว ภายใต้เทคโนโลยีที่เป็นอยู่ปัจจุบัน หรือ จะอัดเป็นเสียง จะถ่ายภาพ จะอัด

                                            เป็นคลิป ถ่ายเป็นภาพนิ่งอะไรก็แล้วแต่ ประชาชนมีศักยภาพในการท า แต่เพียงแต่

                                            ว่าช่องทางในการให้ประชนได้ส่งข้อมูลเข้ามาช่องทางใด แล้วก็ช่องทางดังกล่าวเป็น
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79