Page 39 - kpi21588
P. 39
ร่างรายงาน บทบาทของพลเมืองในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการเลือกตั้งที่ไม่สุจริตเที่ยงธรรม เพื่อพัฒนาและเสริมสร้างความเข้มแข็งของประชาธิปไตยไทย 3-5
3.2 เครื่องมือวิจัย
ในการด าเนินการเก็บข้อมูลปฐมภูมิ ผู้วิจัยก าหนดประเด็นค าถามไว้เป็นลักษณะกึ่งโครงสร้างที่มีทั้ง
ประเด็นหลักและประเด็นย่อยเพื่อให้มีความยืดหยุ่นและให้ได้ข้อมูลตามวัตถุประสงค์การวิจัย โดยประเด็น
ค าถาม ดังแสดงในตาราง 3.1
ตาราง 3.1 ประเด็นค าถามในการด าเนินการเก็บข้อมูลปฐมภูมิ
ค าถามหลัก ค าถามย่อย/ประเด็นย่อยที่เกี่ยวข้อง
1. ในการเลือกตั้งครั้งที่ผ่านมา พื้นที่ของท่าน 1.1 เคยเห็นหรือไม่
มีการซื้อเสียงกันหรือไม่ ? 1.2 มีรูปแบบอย่างไร (ท ากันอย่างไรบ้าง)
2. รูปแบบการซื้อเสียงในปัจจุบัน แตกต่างไป 2.1 เปลี่ยนแปลงไปจากเดิมหรือไม่ อย่างไร
จากอดีต มากน้อยเพียงใด ? 2.2 มีความรุนแรงมากน้อยแค่ไหน
3.1 เกิดจากปัจจัยภายในระดับบุคคลของคนในพื้นที่หรือไม่
อย่างไร (ดูแผนภาพประกอบ)
3.2 เกิดจากเรื่องความรู้ความเข้าใจถึงผลกระทบที่จะเกิด
จากการขายเสียงของคนในพื้นที่หรือไม่ อย่างไร
3.3 เกิดจากวัฒนธรรมทางการเมืองและ
3. ท าไมบางพื้นที่ซื้อแล้วได้ บางพื้นที่ซื้อแล้ว ความเป็นพลเมืองของคนในพื้นที่ หรือไม่ อย่างไร (ดู
ไม่ได้ ?
แผนภาพประกอบ)
3.4 เกิดจากความเชื่อมั่นทางการเมืองของคนในพื้นที่
หรือไม่ อย่างไร (ดูแผนภาพประกอบ)
3.5 เกิดจากการสื่อสารทางการเมืองของคนในพื้นที่ หรือไม่
อย่างไร (ดูแผนภาพประกอบ)
4.1 ท าไมประชาชนจึงขาดการมีส่วนร่วม
4. ที่ผ่านมา ประชาชนในพื้นที่มีส่วนร่วม 4.2 มีปัญหา/อุปสรรคในเรื่องใด อย่างไร
อย่างไรบ้าง ?
(ดูประเด็นปัจจัยที่เกี่ยวข้องในแผนภาพประกอบ)
5. แล้วท่านคิดว่า จากปัญหาการซื้อเสียง 5.1 ต้องแก้กฎหมายในเรื่องใด หรือไม่
ตามที่ท่านกล่าวถึง เราสามารถป้องกันและ 5.2 ประชาชนจะเข้ามามีส่วนร่วมได้อย่างไร
แก้ไขได้อย่างไร ?
6.1 สถานการณ์ดีขึ้น? หรือ จะรุนแรงขึ้นหรือไม่ หรือว่า
เหมือนเดิม
6. ในอนาคต ท่านคิดว่าปัญหาการซื้อเสียงจะ 6.2 จะมีรูปแบบเปลี่ยนไปจากปัจจุบันหรือไม่ เช่น จะซื้อ
เป็นอย่างไร ? ผ่านการใช้นโยบายมากขึ้นหรือไม่ ?
6.3 แล้วประชาชนจะมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไข
ปัญหาเหล่านั้นได้อย่างไร