Page 7 - kpi21365
P. 7
40 ตามกฎหมายการบริหารงานบุคคลส่วนท้องถิ่น หรือการดูแลควบคุมท้องถิ่นตามกฎหมายอื่นๆ ตลอดจนถึงการ
ยกเลิกแนวทางการตีความเกี่ยวกับอ านาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่ขัดหรือแย้งต่อหลักความเป็น
อิสระขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ และ พระราชบัญญัติ ก าหนดแผนและ
ขั้นตอนการกระจายอ านาจฯ เป็นต้น 4) ยกระดับประสิทธิภาพและขีดความสามารถในการบริหารจัดการเมืองและ
ชุมชนชนบทขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ซึ่งสามารถด าเนินการได้โดยการปรับโครงสร้างการปกครองส่วน
ภูมิภาคและการปกครองท้องถิ่นเสียใหม่ โดยการยุบรวมจังหวัด (ซึ่งเป็นหน่วยราชการส่วนภูมิภาค) และองค์การ
บริหารส่วนจังหวัด เข้าด้วยกัน และจัดการปกครองท้องถิ่นรูปแบบพิเศษขึ้นให้มีพื้นที่ครอบคลุมทั้งจังหวัด หรือที่
เรียกกันว่า “จังหวัดปกครองตนเอง” เพื่อเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้เงินงบประมาณของรัฐ ลดความซ้ าซ้อน
ในเชิงโครงสร้างระหว่าง “ภูมิภาค” และ “ท้องถิ่น” ในระดับจังหวัด และให้ชุมชนท้องถิ่นสามารถบริหารจัด
การเมืองและชุมชนชนบทในพื้นที่จังหวัดหนึ่งๆ ให้ด ารงอยู่ร่วมกันได้อย่างสมดุลและยั่งยืน
2.ด้านการบูรณาการการท างาน รูปแบบของกำรบูรณำกำรกำรปฏิบัติงำนร่วมกันของหน่วยงำน
ภำครัฐในพื้นที่จังหวัด ควรเริ่มต้นจำกกำรวิเครำะห์ ระบุสภำพปัญหำประเด็นกำรพัฒนำหรือกำรแก้ไขปัญหำที่ต้อง
อำศัยกำรบูรณำกำรจะมีผลต่อกำรก ำหนดภำคส่วนหรือผู้ที่มีบทบำทหลักในกำรบูรณำกำร จำกนั้น เป็นขั้นตอน
กำรเชื่อมโยงแผนงำนที่จัดท ำภำยใต้กลไกห่วงโซ่คุณค่ำแบบ เบ็ดเสร็จ (Total Value Chain) รวมทั้งกำรด ำ เนิน
กำรที่เกี่ยวข้องกับกำรจัดบทบำทอ ำนำจหน้ำที่และ ควำมสัมพันธ์ที่เป็นทำงกำรและที่ไม่เป็นทำงกำรระหว่ำงตัว
แสดงของรัฐระดับต่ำง ๆ และภำคส่วน อื่นที่เกื้อหนุนต่อกำรท ำงำนร่วมกัน เพื่อให้ได้รูปแบบควำมสัมพันธ์ที่
เหมำะสมกับกำรด ำเนินกำร ให้ส ำเร็จและเป็นไปตำมเป้ำหมำยกำรพัฒนำ ตลอดจนกำรประเมินผลโดยภำคส่วน
ต่ำง ๆ ผ่ำนกลไก เช่น ห้องปฏิบัติกำรนวัตกรรมภำครัฐ (Government Lab) ฯลฯ
3. ด้ำนบุคลำกร ซึ่งส ำนักงำน ก.พ. ด ำเนินกำรอยู่ เช่น กำรวำงแนวทำงกำรพัฒนำบุคลำกร
ภำครัฐระยะยำวที่สอดคล้องกับยุทธศำสตร์ชำติ ระยะ 20 ปี รวมถึงแผนต่ำง ๆ ที่เกี่ยวข้อง โดยได้ก ำหนดให้ระยะ
5 ปีแรกของกำรพัฒนำ เป็นระยะของกำรสร้ำงรำกฐำนของกำรวำงระบบกำรพัฒนำบุคลำกรภำครัฐและส่งเสริมให้
บุคลำกรภำครัฐสำมำรถปรับตัวและมีควำมพร้อมในทุกมิติที่จะท ำงำนในบริบทของกำรพัฒนำประเทศไปสู่กำรเป็น
ประเทศไทย 4.0 และดิจิทัลไทยแลนด์ โดยมุ่งพัฒนำจุดเน้น 4 ประกำร คือ 1) กำรปรับเปลี่ยนภำครัฐเป็นรัฐบำล
ดิจิทัล (Digital Government Transformation) 2) กำรส่งเสริมกำรท ำงำนที่สอดคล้องเชื่อมโยงเป็นบูรณำกำร
และกำรสร้ำงจิตส ำนึกควำมรับผิดชอบ (Create Alignment and Accountability) 3) กำรส่งเสริมให้เกิด
นวัตกรรมและกำรคิดสร้ำงสรรค์ (Driving Innovation) และ 4) กำรสร้ำงพันธมิตรและกำรส่งเสริมกำรท ำงำน
แบบประชำรัฐ (Create Partnership and Relationship) นับว่ำเป็นแนวทำงที่ดี นอกจำกนั้นคณะผู้วิจัยยังมี
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม คือ กำรพัฒนำบุคลำกรภำครัฐเพื่อสร้ำงสรรค์ นวัตกรรมเชิงนโยบำย (Policy Innovation)
เป็นกำรคิดริเริ่มนโยบำย กฎหมำย และกฎใหม่ๆ ให้ทันสมัย เหมำะสมและทันต่อสถำนกำรณ์ และให้มีควำม
เชื่อมโยงกับยุทธศำสตร์ของประเทศ ให้มำกขึ้น โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรสร้ำงนวัตกรรมเชิงนโยบำยในระดับท้องถิ่น
เนื่องจำกเมื่อพิจำรณำกำรพัฒนำภำครัฐส่วนใหญ่จะมุ่งเน้นให้บุคลำกรพัฒนำนวัตกรรมกำรให้บริกำรและ
จ