Page 4 - kpi21365
P. 4

องค์ประกอบความทันสมัยในการปฏิบัติงาน (คิดเป็นร้อยละ 80.10) และมีระดับการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ใน

               ระดับสูง จ านวน 5 องค์ประกอบ ได้แก่ องค์ประกอบความโปร่งใสปลอดการทุจริตและประพฤติมิชอบ (ด้านการ
               ป้องกันและด้านการปราบปราม) (คิดเป็นร้อยละ 79.82) องค์ประกอบกฎหมายกับบริบทที่เปลี่ยนแปลง (คิดเป็น

               ร้อยละ 79.19) องค์ประกอบบุคลากรภาครัฐ (คิดเป็นร้อยละ 79.03) องค์ประกอบสิทธิมนุษยชนและความเสมอ

               ภาคในกระบวนการยุติธรรม (คิดเป็นร้อยละ 75.55) และองค์ประกอบขนาดขององค์กรและการมีส่วนร่วมของ
               ภาคประชาชน (คิดเป็นร้อยละ 69.31)   ผลการวิเคราะห์ความแปรปรวนของการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การ

               ปฏิบัติขององค์กรภาครัฐตามยุทธศาสตร์ชาติที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการขององค์กร

               ภาครัฐในประเทศไทย ผู้ตอบแบบสอบถามที่มีประเภทกลุ่มกระทรวงต่างกันและกระทรวงต่างกัน มีการขับเคลื่อน
               ยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติขององค์กรภาครัฐตามยุทธศาสตร์ชาติที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการ

               บริหารจัดการขององค์กรภาครัฐโดยรวมไม่แตกต่างกัน

                        ผลการวิเคราะห์สภาพปัญหาและอุปสรรคในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติขององค์กร
               ภาครัฐตามยุทธศาสตร์ชาติที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการขององค์กรภาครัฐใน

               ประเทศไทย ซึ่งได้จากการวิจัยเชิงปริมาณ มีประเด็นสภาพปัญหาและอุปสรรคที่ส าคัญที่มีค่าความถี่สูงที่สุด 3

               ล าดับแรก ได้แก่ ปัญหาการจัดสรรงบประมาณและทรัพยากร รองลงมาได้แก่ การที่หน่วยงานไม่ได้รับการจัดสรรบ
               ประมาณเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาระบบบริหาร และสุดท้ายได้แก่ การที่หน่วยงานไม่ได้รับการจัดสรรบประมาณเพื่อ

               พัฒนาบุคลากร  ส าหรับผลการวิเคราะห์ปัญหาอุปสรรคที่ได้จากการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า ปัญหาส าคัญที่สุดที่

               องค์กรภาครัฐยังคงต้องพัฒนาต่อไปคือการท างานแบบบูรณาการ รองลงมาคือ ขนาดภาครัฐที่เกิดจากการส่งเสริม
               การกระจายอ านาจยังมีข้อจ ากัด การพัฒนาทักษะของบุคลากรภาครัฐด้านเทคโนโลยี ปัญหากำรทุจริตและ

               ประพฤติมิชอบภำครัฐ และปัญหำควำมล่ำช้ำในกำรปรับปรุงกฎหมำย
                        ผลการวิเคราะห์ข้อเสนอแนะและแนวทางพัฒนาการปฏิบัติงานที่สอดคล้องและเป็นไปตามเป้าหมาย

               ของยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการขององค์กรภาครัฐในประเทศไทย

               โดยจากปัญหาอุปสรรคส าคัญ ๆ ของการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติที่ได้จากการวิจัย เช่น ด้านการลดขนาด
               องค์การ ด้านการมีส่วนร่วมของประชาชน ด้านการกระจายอ านาจ ด้านการท างานแบบบูรณาการ และด้าน

               บุคลากร คณะผู้วิจัยาจึงแบ่งข้อเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนาเพื่อขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ โดยแบ่ง
               ออกเป็นระยะสั้นและระยะยาว ดังนี้

                          ระยะสั้น

                              1. ด้ำนโครงสร้ำง หน่วยงำนภำครัฐที่เกี่ยวข้องควรมีกำรปรับบทบำทภำรกิจภำครัฐให้ภำคส่วน
               อื่นมำรับด ำเนินกำรมำกขึ้นและต้องมีกำรปรับรูปแบบเน้นกำรท ำงำนในลักษณะของเครือข่ำย โครงสร้ำงองค์กร
               และขนำดก ำลังคนให้มีควำมเหมำะสม (Right-sizing) โดยส่งเสริมให้ส่วนรำชกำรน ำ Digital Technology มำใช้

               ในกำรปฏิบัติงำน พร้อมกับกำรทบทวนบทบำทภำรกิจของส่วนรำชกำรคู่ขนำนกันเพื่อให้โครงสร้ำงส่วนรำชกำรมี
               ควำมกะทัดรัดคล่องตัว (Agile) และมีอัตรำก ำลังมีขนำดที่เหมำะสม (Right-sizing) กำรพัฒนำระบบกำรบริหำร


                                                                                                            ข
   1   2   3   4   5   6   7   8   9