Page 6 - kpi21365
P. 6

มีส่วนร่วม ส่งเสริมและสนับสนุนกำรสร้ำงต้นแบบ ครัวเรือน ชุมชนด้ำนกำรจัดกำรพลังงำน วิทยำกรพลังงำน
               ชุมชน อำสำสมัครพลังงำน ชุมชน (อส.พน.) นักจัดกำรโครงกำรด้ำนพลังงำนชุมชน กองทุนพลังงำนชุมชน และ

               องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่มีศักยภำพที่จะเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต้นแบบด้ำนพลังงำน เป็นต้น
                              3.ด้านบุคลากร รัฐบำลควรสนับสนุนก ำลังคนและงบประมำณอย่ำงจริงจัง ซึ่งจ ำเป็นจะต้องมีกำร
               กำรจัดสรรงบประมำณและบุคลำกรให้เหมำะสม โดยมีกำรเตรียมบุคลำกรให้พร้อมเพื่อน ำไปสู่กำรใช้เทคโนโลยี

               เช่น กำรส่งเสริมให้บุคลำกรเข้ำรับกำรอบรม หลักสูตรกำรสร้ำงกระบวนกำรเปลี่ยนผ่ำนองค์กรสู่รัฐบำลดิจิทัล
               หลักสูตรนักบริหำรรัฐบำลดิจิทัล หลักสูตรผู้น ำด้ำนดิจิทัลส ำหรับข้ำรำชกำรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโครงกำร
               ฝึกอบรมกำรพัฒนำทักษะทำงด้ำนเทคโนโลยีดิจิทัลและกำรประชำสัมพันธ์ในยุคดิจิทัลแก่ข้ำรำชกำรยุคใหม่ ทั้งนี้

               เพื่อปรับเปลี่ยนกระบวนกำรกำรท ำงำน (Process) หรือกำรปรับเปลี่ยนทักษะด้ำนดิจิทัลของบุคลำกร (Digital
               Workforce) หรือ กำรปรับเปลี่ยนรูปแบบกำรท ำงำน (Agile / LEAN) เพื่อยกระดับประสิทธิภำพกำรท ำงำน กำร
               ออกแบบกำรให้บริกำร กำรด ำเนินโครงกำรที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้ำงพื้นฐำน และเทคโนโลยีสำรสนเทศรวมถึงท ำให้
               เกิดควำมสอดคล้องกับนโยบำยดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม  นอกจำกนั้นควรส่งเสริมกำรเข้ำอบรมเพื่อพัฒนำ

               ประสิทธิภำพกำรบริกำร เช่น โครงกำรอบรมหลักสูตรกำรพัฒนำบริกำรภำครัฐแบบครบวงจร (One Stop
               Service)  เพื่อให้สอดคล้องกับแนวทำงกำรพัฒนำศูนย์กลำงบริกำรภำครัฐส ำหรับประชำชน (Government
               access Channels) ผ่ำน 3 ช่องทำงบริกำร คือ ศูนย์รวมบริกำรภำครัฐในรูปแบบเว็บไซต์ (GovChannel) ศูนย์
               รวมบริกำรภำครัฐในรูปแบบโมบำยแอปพลิเคชัน (Government Application Center) และช่องทำงกำรเข้ำถึง

               ข้อมูลและบริกำรของรัฐผ่ำนตู้บริกำรเอนกประสงค์ของรัฐ (Government Smart Kiosk)  เพื่อเป็นกำรอ ำนวย
               ควำมสะดวกและลดควำมเหลื่อมล้ ำในกำรเข้ำรับบริกำรจำกภำครัฐ รวมถึงขยำยขีดควำมสำมำรถในกำรแข่งขันแก่
               ภำคธุรกิจ และสร้ำงระบบบริหำรจัดกำรภำครัฐที่มีประสิทธิภำพ
                              ระยะยาว

                              1. ด้านการกระจายอ านาจ  คณะผู้วิจัยเห็นด้วยกับรายงานการศึกษาวิจัยเพื่อติดตามและ
               ประเมินผลการกระจายอ านาจเสนอต่อ ส านักงานคณะกรรมการการกระจายอ านาจ โดย คณะรัฐศาสตร์

               จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (สยามรัฐออนไลน์, 2563) ที่เสนอแนวทางการกระจายอ านาจไว้ ด้งนี้  1) ปรับปรุง

               แนวคิดในการถ่ายโอนภารกิจสู่ท้องถิ่นเสียใหม่ โดยก าหนดให้ท้องถิ่นขนาดเล็ก(เทศบาลต าบลและองค์การบริหาร
               ส่วนต าบลขนาดเล็ก) มีหน้าที่จัดบริการสาธารณะขั้นพื้นฐานเพียงไม่กี่ประเภทเท่าที่ท้องถิ่นขนาดเล็กเหล่านี้จะ

               สามารถด าเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพเท่านั้น และให้ถ่ายโอนภารกิจ “ขนาดใหญ่” ให้องค์ปกครองส่วน

               ท้องถิ่นระดับบน (อบจ.) และเทศบาลขนาดใหญ่ (เทศบาลนครและเทศบาลเมือง) เป็นผู้ด าเนินการหรือแก้ไข
               ปัญหาให้ประชาชนแทน และจะต้องสนับสนุนให้ท้องถิ่นระดับต่างๆ ท างานร่วมกันอย่างเข้มข้นมากขึ้นในการดูแล

               ประชาชนต่อไป 2) น ามาตรการเชิงบังคับและก ากับดูแล ก าหนดบทลงโทษ และมาตรการจูงใจที่จ าเป็นมาใช้ใน

               การบริหารระบบนโยบายการกระจายอ านาจ เพื่อให้รัฐและส่วนราชการต่างๆ เร่งถ่ายโอนภารกิจ บุคลากร และ
               งบประมาณให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และจัดให้มีมาตรการกระตุ้นหรือจูงใจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น

               รับภารกิจถ่ายโอนต่างๆ ไปด าเนินการอย่างจริงจัง โดยเฉพาะกลุ่มภารกิจที่จะต้องด าเนินการตามกฎหมาย 3)

               ทบทวนและยกเลิกมาตรการควบคุมท้องถิ่นที่ “ไม่จ าเป็น” เช่น มาตรการจ ากัดรายจ่ายบุคลากรที่ไม่เกินร้อยละ


                                                                                                            ง
   1   2   3   4   5   6   7   8   9   10   11