Page 42 - kpi21365
P. 42
ประเด็นยุทธศาสตร์ ประเด็นย่อย
7. กฎหมายมีความสอดคล้องเหมาะสมกับบริบท 7.1 ภาครัฐจัดให้มีกฎหมายที่สอดคล้องและเหมาะสมกับบริบท
ต่าง ๆ และมีเท่าที่จ าเป็น ต่าง ๆ ทีเปลี่ยนแปลง
7.2 มีกฎหมายเท่าที่จ าเป็น
7.3 การบังคับใช้กฎหมายอย่างมีประสิทธิภาพ
8. กระบวนการยุติธรรมเคารพสิทธิมนุษยชนและ 8.1 บุคลากรและหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมเคารพและ
ปฏิบัติต่อประชาชนโดยเสมอภาค ยึดมั่นในหลักประชาธิปไตย เคารพศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ที่พึง
ได้รับการปฏิบัติอย่างเท่าเทียม
8.2 ทุกหน่วยงานในกระบวนการยุติธรรม มีบทบาทเชิงรุก
ร่วมกันในทุกขั้นตอนของการค้นหาความจริง
8.3 หน่วยงานในกระบวนการยุติธรรมทั้งทางแพ่ง อาญาและ
ปกครอง มีเป้าหมายและยุทธศาสตร์ร่วมกัน
8.4 ส่งเสริมระบบยุติธรรมทางเลือก ระบบยุติธรรมชุมชนและ
การมีส่วนร่วมของประชาชนในกระบวนการยุติธรรม
8.5 พัฒนามาตรการอื่นแทนโทษทางอาญา
ที่มา : ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2561.
4.1.5 ตัวชี้วัดการด าเนินงานแต่ละองค์ประกอบ/ประเด็นย่อยของยุทธศาสตร์ชาติด้านการ
ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐ
จากแนวคิดองค์ประกอบและเป้าหมายการด าเนินงานของยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับ
สมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภาครัฐดังกล่าวนั้น ผู้วิจัยสามารถสรุปตัวชี้วัดการด าเนินงานในแต่
ละองค์ประกอบ/ประเด็นย่อยของยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการ
ภาครัฐ ได้ดังนี้
1) องค์ประกอบการด าเนินงานในประเด็นย่อยด้านการบริการ โดยการให้บริการ
สาธารณะขององค์กรภาครัฐได้มาตรฐานสากลระดับแนวหน้าของภูมิภาค และองค์กรภาครัฐมีความ
เชื่อมโยงในการให้บริการสาธารณะต่าง ๆ ผ่านการน่าเทคโนโลยีดิจิทัลมาประยุกต์ใช้ มีตัวชี้วัดการ
ด าเนินงานจ านวน 3 ตัวชี้วัด ได้แก่
1.1) การให้บริการสาธารณะขององค์กรภาครัฐได้มาตรฐานสากล
1.2) การให้บริการสาธารณะขององค์กรภาครัฐเป็นระดับแนวหน้าของภูมิภาค
โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ :
23
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ