Page 45 - kpi21365
P. 45
8.3) หน่วยงานองค์กรภาครัฐมีบทบาทเชิงรุกร่วมกันในทุกขั้นตอนของกระบวนการ
ยุติธรรม
8.4) หน่วยงานองค์กรภาครัฐมีเป้าหมายและยุทธศาสตร์เกี่ยวกับกระบวนการ
ยุติธรรมร่วมกัน
8.5) หน่วยงานองค์กรภาครัฐมีแผน/มาตรการส่งเสริมระบบยุติธรรมทางเลือก
8.6) หน่วยงานองค์กรภาครัฐมีแผน/มาตรการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน
ในกระบวนการยุติธรรม
8.7) หน่วยงานองค์กรภาครัฐมีแผนในการพัฒนามาตรการอื่นแทนโทษทางอาญา
ทั้งนี้คณะผู้วิจัยได้จัดท าตารางแสดงนิยามความหมาย องค์ประกอบ และตัวชี้วัดใน
องค์ประกอบ/ประเด็นย่อยการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหาร
จัดการภาครัฐ ดังแสดงในตารางที่ 2.2
ตารางที่ 2.2 แสดงนิยามความหมาย องค์ประกอบ และตัวชี้วัดในองค์ประกอบ/ประเด็นย่อยการ
ด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ
ความหมายของยุทธศาสตร์ที่ 6 องค์ประกอบ/ประเด็นย่อย ตัวชี้วัดในองค์ประกอบ/
ด้านการปรับสมดุลและพัฒนา การด าเนินงานตาม ประเด็นย่อยการด าเนินงาน
ระบบบริหารจัดการภาครัฐ ยุทธศาสตร์ที่ 6 ตามยุทธศาสตร์ที่ 6
การพัฒนาที่ยึดหลัก “ภาครัฐของ 1. ด้านการบริการ 1.1) การให้บริการสาธารณะของ
ประชาชนเพื่อประชาชนและประโยชน์ องค์กรภาครัฐได้มาตรฐานสากล
ส่วนรวม” โดยภาครัฐต้องมีขนาดที่ 1.2) การให้บริการสาธารณะของ
เหมาะสมกับบทบาทภารกิจ ปรับ องค์กรภาครัฐเป็นระดับแนวหน้าของ
วัฒนธรรมการท างาน โดยพร้อมที่จะ ภูมิภาค
ปรับตัวตามการเปลี่ยนแปลง มีการน า 1.3) องค์กรภาครัฐมีความเชื่อมโยง
นวัตกรรม ระบบการท างานที่เป็นดิจิทัล ในการให้บริการสาธารณะต่าง ๆ
เข้ามาประยุกต์ใช้และปฏิบัติงานเทียบได้ ผ่านการน าเทคโนโลยีดิจิทัลมา
กับมาตรฐานสากล ประยุกต์ใช้
2. ด้านการบริหารงานแบบ 2.1) มี ก ารก าห น ด แ ผ น ก าร
บูรณาการ ด าเนินงานโดยอิงยุทธศาสตร์ชาติ
เป็นกลไกขับเคลื่อนการด าเนินงาน
โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ :
26
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ