Page 185 - kpi21365
P. 185

ข้อค าถามที่ 7 (คิดเป็นร้อยละ 71.57) ข้อค าถามที่ 8 (คิดเป็นร้อยละ 67.58) และข้อค าถามที่ 4 (คิด
                     เป็นร้อยละ 65.38) และมีระดับการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ในระดับปานกลาง จ านวน 2 ข้อค าถาม

                     ได้แก่ ข้อค าถามที่ 2 (คิดเป็นร้อยละ 58.79) และข้อค าถามที่ 9 (คิดเป็นร้อยละ 55.49)

                            ทั้งนี้ จากผลการวิจัยดังกล่าวซึ่งพบว่า ข้อค าถามที่ 6 มีระดับการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ใน
                     ระดับสูงมากเป็นล าดับแรก โดยมีร้อยละของการขับเคลื่อนฯ เท่ากับ 84.75 ซึ่งผลการวิจัยดังกล่าวเป็น

                     ผลมาจากการที่หน่วยงานภาครัฐมีระบบการก ากับติดตามประเมินผลการน านโยบายไปปฏิบัติตาม

                     มาตรฐานที่หน่วยงานก าหนด จึงส่งผลให้ข้อค าถามที่ 6 มีระดับการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ในระดับสูง
                     มากที่สุดเป็นล าดับแรก นอกจากนี้ ผลการวิจัยดังกล่าวยังพบว่า ข้อค าถามที่ 9 มีระดับการขับเคลื่อนสู่

                     การปฏิบัติอยู่ในล าดับสุดท้าย โดยมีร้อยละของการขับเคลื่อนฯ เท่ากับ 55.49 ซึ่งผลการวิจัยดังกล่าว

                     เป็นเพราะหน่วยงานภาครัฐยังขาดการกระจายอ านาจเพื่อเพิ่มอิสระให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นใน
                     การจัดบริการสาธารณะ เนื่องจากในการบริหารจริงๆการก ากับบริการดูแลจากส่วนกลางก็ยังมี

                     มาตรการอื่นที่อาจจะเป็น Dark Channel เช่นโดยใช้เรื่องของการขอความร่วมมือไป แต่สุดท้ายก็จะ

                     เหมือนกับว่าท้องถิ่นต้องปฏิบัติตามค าร้องขอจากส่วนกลางอยู่ดี ตัวอย่างเช่น เรื่องของระเบียบข้อบังคับ
                     ต่างๆที่ออกมาจากส่วนกลาง ซึ่งมีดารออกแบบออกมาอยู่บนพื้นฐานของความที่ไม่ไว้วางใจส่วนท้องถิ่น

                     อย่างเต็มที่ ดังนั้นจึงเป็นไปไม่ได้เลยที่ท้องถิ่นจะมีอิสระจริงๆ ในการที่จะสามารถสร้างสรรค์ หรือ

                     ประสานความต้องการของท้องถิ่นกับเป้าหมายของการพัฒนาได้อย่างแท้จริง ส่งผลให้ข้อค าถามที่ 9 มี
                     ระดับการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ในล าดับสุดท้าย



                             ผลกำรวิจัยเชิงปริมำณไม่สอดคล้องกับผลกำรวิจัยเชิงคุณภำพเรื่องขนำดภำครัฐ และกำรมี
                     ส่วนร่วมในกำรพัฒนำประเทศ โดยเฉพำะอย่ำงยิ่งกำรปัญหำเรื่องส่งเสริมกำรกระจำยอ ำนำจและ
                     สนับสนุนบทบำทชุมชนท้องถิ่นให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงำนที่มีสมรรถนะสูง  ดังค ำ
                     กล่ำวที่ว่ำ


                                 “….ตั้งแต่หลังปี 45 ขึ้นมำเรำปฏิรูประบบรำชกำรขนำดใหญ่ใช่ไหมครับพยำยำม
                            downsizing กระทรวงทบวงกรมต่ำงๆอยำกให้มันเล็กลงประหยัดงบประมำณประหยัดส่วน
                            ของบุคลำกรต่ำงๆ ทรัพยำกรใช้ร่วมกัน เรำจะเห็นว่ำแทนที่อยำกให้หัวมันเล็กลงกลำยเป็นว่ำ

                            ระดับกรมลงมำโตออกมำ เกิดกรมใหม่ ๆ เกิดแผนกใหม่ ๆ ย่อยที่มันทับซ้อนกันอยู่ ยกตัวอย่ำง
                            เช่นอย่ำงตัวของเรื่องดิจิทัลเพิ่งเข้ำมำ จำกเดิมเรำมีกระทรวงสำรสนเทศที่ดูในแง่ของกำร ใช้
                            ICT เฉยๆ ตอนนี้กลำยเป็นกระทรวงดิจิตัลและสังคมแล้วใช่ไหมครับมันจึงไม่ใช่เรื่องของเทคนิค

                            เข้ำอย่ำงเดียวแต่เรำมองถึงกำรประยุกต์ตัวเทคนิคตรงนี้เข้ำไปสู่กำรพัฒนำด้ำนต่ำงๆของสังคม
                            ของเรำด้วยไม่ว่ำจะเป็นกำรศึกษำกำรบริหำรกำรจัดกำรอะไรต่ำงๆ ก็จะเห็นได้ว่ำภำรกิจของ
                            กรม ที่ดูแลเรื่องดิจิทัลมีควำมซับซ้อนกันมำก ในฐำนะคนนอกอำจจะมองว่ำมันมีตัวนี้ขึ้นมำแล้ว
                            ควรจะเป็นคนที่ motivate หมดทุกอย่ำงหรือเปล่ำ เพรำะปัญหำมันเกิด แผนที่มำตรกำรต่ำงๆ
                            ที่ชัดเจนควรจะออกมำก่อนประชำชนต้องปรับตัวอย่ำงไร ภำครัฐต่ำงๆ ซึ่งต้องอำศัยกำรออก

                            นโยบำยที่มันซิงโครไนซ์กันระหว่ำง กระทรวงต่ำงๆ แล้วก็เพรำะว่ำมำตรกำรไม่เป็นแพ็คเกจที่

                      โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ :                166
                      ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ
   180   181   182   183   184   185   186   187   188   189   190