Page 183 - kpi21365
P. 183

ตัวนี้ไปเจรจำใส่เพื่อให้มันไปด้วยกันได้  เรื่องกำรบูรณำกำรภำครัฐนั้นเป็นเรื่องท้ำทำยมำนำน
                            ยังคิดไม่ออกว่ำจะมีอะไรให้มำช่วยกันท ำเรื่องนี้ เพรำะเข้ำใจว่ำแต่ละหน่วยมีงำนหลักที่ต้องท ำ
                            ส่วน กพ. และ กพร. นั้น 2 หน่วยงำนมีกำรคุยกันอย่ำงไม่เป็นทำงกำรอยู่เสมอ เอำข้อมูลมำ
                            แชร์และท ำ paper ร่วมกัน บำงทีต้องเป็นกำรบูรณำกำรแบบไม่เป็นทำงกำรจะเห็นผลมำกกว่ำ

                            มำนั่งประชุมกันเป็นทำงกำร....”


                             ทั้งนี้ กำรบริหำรงำนแบบบูรณำกำรในปัจจุบันยังเป็นกำรใช้แผนงำนแบบบูรณำกำรแต่กำร
                     ปฏิบัติงำนในกำรขับเคลื่อนจริงจะเป็นกำรน ำภำรกิจเดิมที่มีอยู่แล้วมำใส่ในยุทธศำสตร์ที่ก ำหนดไว้ โดย
                     ยังยึดหลัก Funnction Based เป็นส ำคัญเพรำะแต่ละกระทรวงทบวงกรมก็ยังท ำงำนตำมภำรกิจของ
                     ตนเองเป็นหลัก


                     ตารางที่ 4.5 ระดับการขับเคลื่อนตามยุทธศาสตร์ชาติที่ 6 ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการ

                     บริหารจัดการสู่การปฏิบัติขององค์กรภาครัฐในประเทศไทยในรายองค์ประกอบขนาดขององค์กร และ
                     การมีส่วนร่วมของภาคประชาชน และในรายข้อ

                                องค์ประกอบการขนาดขององค์กรฯ                  ที่      %         แปลผล

                      1. หน่วยงานมีการเปิดโอกาสให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วม  3      73.49        สูง

                      ในการด าเนินการบริการสาธารณะและกิจกรรมสาธารณะของ
                      หน่วยอย่างเหมาะสม

                      2. หน่วยงานมีการส่งเสริมบทบาทขององค์กรปกครองส่วน       8       58.79     ปานกลาง

                      ท้องถิ่นให้เข้มแข็ง
                      3. หน่วยงานมีการพัฒนาบทบาทการด าเนินงานระหว่าง         4       72.94        สูง

                      ราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น

                      4. หน่วยงานสนับสนุนให้ภาคส่วนอื่น ๆ มีการพัฒนารูปแบบ   7       65.38        สูง
                      การบริการสาธารณะแบบประชารัฐ

                      5. หน่วยงานมีการจัดให้มีการตรวจสอบความซ้ าซ้อน ทบทวน   2       73.76        สูง
                      ภารกิจของหน่วยงานตนเอง

                      6. หน่วยงานมีระบบการก ากับติดตามประเมินผลการน า        1       84.75      สูงที่สุด

                      นโยบายไปปฏิบัติตามมาตรฐานที่หน่วยงานก าหนด
                      7. หน่วยงานมีการถ่ายโอนภารกิจของหน่วยงานไปให้          5       71.57        สูง

                      ภาคเอกชนเข้ามาด าเนินการ เช่น การจ้างเหมาบริการ

                      8. หน่วยงานมีการก าหนดระเบียบในการด าเนินงานที่ไม่เป็น  6      67.58        สูง
                      อุปสรรคต่อการด าเนินงานของภาคเอกชน






                      โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ :                164
                      ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ
   178   179   180   181   182   183   184   185   186   187   188