Page 182 - kpi21365
P. 182
ข้อค าถามที่ 8 (คิดเป็นร้อยละ 88.32) ข้อค าถามที่ 2 (คิดเป็นร้อยละ 85.16) ข้อค าถามที่ 9 (คิดเป็น
ร้อยละ 82.69) ข้อค าถามที่ 4 (คิดเป็นร้อยละ 82.42) ข้อค าถามที่ 5 (คิดเป็นร้อยละ 81.87) และข้อ
ค าถามที่ 6 (คิดเป็นร้อยละ 80.91) และมีระดับการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ในระดับสูง จ านวน 2 ข้อ
ค าถาม ได้แก่ ข้อค าถามที่ 7 (คิดเป็นร้อยละ 70.60) และข้อค าถามที่ 10 (คิดเป็นร้อยละ 60.58)
ทั้งนี้ จากผลการวิจัยดังกล่าวซึ่งพบว่า ข้อค าถามที่ 1 มีระดับการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ใน
ระดับสูงมากเป็นล าดับแรก โดยมีร้อยละของการขับเคลื่อนฯ เท่ากับ 61.21 ซึ่งผลการวิจัยดังกล่าวเป็น
ผลมาจากการที่หน่วยงานภาครัฐมีการบริหารงานแบบบูรณาการโดยมียุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมาย
และเชื่อมโยงการพัฒนาในทุกระดับทุกประเด็น ทุกภารกิจและทุกพื้นที่ โดยมีระบบติดตามประเมินผล
ที่สะท้อนการบรรลุเป้าหมายยุทธศาสตร์ชาติในทุกระดับ จึงส่งผลให้ข้อค าถามที่ 1 มีระดับการ
ขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ในระดับสูงมากที่สุดเป็นล าดับแรก นอกจากนี้ ผลการวิจัยดังกล่าวยังพบว่า ข้อ
ค าถามที่ 10 มีระดับการขับเคลื่อนสู่การปฏิบัติอยู่ในล าดับสุดท้าย โดยมีร้อยละของการขับเคลื่อนฯ
เท่ากับ 60.58 ซึ่งผลการวิจัยดังกล่าวเป็นเพราะการท างานแบบบูรณาการของหน่วยงานภาครัฐที่ได้มี
ความพยายามท ากันอย่างต่อเนื่องในทุกยุคทุสมัยแต่การขับเคลื่อนในระดับพื้นที่หรือระดับภูมิภาคยังมี
ข้อจ ากัด ซึ่งแม้ว่าการบริหารงานแบบบูรณาการในปัจจุบันยังเป็นการใช้แผนงานแบบบูรณาการ แต่การ
ปฏิบัติงานในการขับเคลื่อนจริงของหน่วยงานภาครัฐ จะมีลักษณะที่เป็นการน าภารกิจเดิมที่มีอยู่แล้วมา
ใส่ในยุทธศาสตร์ที่ก าหนดไว้ โดยยังยึดหลัก Function Based อยู่เป็นส าคัญเพราะแต่ละกระทรวง
ทบวงกรมก็ยังท างานตามภารกิจของตนเองเป็นหลัก ส่งผลให้ข้อค าถามที่ 10 มีระดับการขับเคลื่อนสู่
การปฏิบัติอยู่ในล าดับสุดท้าย
ผลกำรวิจัยเชิงปริมำณสอดคล้องกับผลกำรวิจัยเชิงคุณภำพ ในประเด็นภำครัฐบริหำรงำน
แบบบูรณำกำรโดยมียุทธศำสตร์ชำติเป็นเป้ำหมำยและเชื่อมโยงกำรพัฒนำในทุกระดับทุกประเด็น ทุก
ภำรกิจและทุกพื้นที่ โดยมีระบบติดตำมประเมินปลที่สะท้อนกำรบรรลุเป้ำหมำยยุทธศำสตร์ชำติในทุก
ระดับ อย่ำงไรก็ตำมจำกกำรสัมภำษำณ์ พบว่ำ กำรท ำงำนแบบบูรณำกำรมีควำมพยำยำมท ำกันอย่ำง
ต่อเนื่องในทุกยุคทุสมัยแต่กำรขับเคลื่อนในระดับพื้นที่หรือระดับภูมิภำค ยังมีข้อจ ำกัด ดังค ำกล่ำวที่ว่ำ
“….ข้อเสนอที่สภำพัฒน์ฯ ประชุมคณะยุทธศำสตร์ชำติเข้ำ ครม. มีประเด็นเรื่องกำรบูรณำ
กำร ซึ่ง กพร. มีควำมเห็นว่ำกำรบูรณำกำรควรจะมีกลไกต่ำงๆ เลขำธิกำรสภำพัฒน์ฯ เห็นว่ำ
ควรมี KPI ร่วมกัน เห็นว่ำสภำพัฒน์กังกลเรื่องนี้แต่ยังไม่เห็นวิธีกำรที่จะท ำให้เกิดขึ้นได้
อย่ำงไร ....ทำง ส ำนักงำนกพร. ได้เคยหำรือกับสภำพัฒน์ฯ พยำยำมน ำตัวชี้วัดที่อยู่ในแผน
แม่บทหรือแผนยุทธศำสตร์ชำติ ดึงลงมำเป็นแผนขององค์กรเป็น KPI ซึ่งในยุทธศำสตร์ชำติและ
แผนแม่บทนั้นไม่มี KPI ร่วมกัน กพร.เอำมำ Joint หรือเอำมำรวมและพยำยำมใส่ตัวชี้วัดนี้เข้ำ
ไปในหน่วยงำนที่เกี่ยวข้อง โดยก่อนมียุทธศำสตร์ชำตินั้นเรำท ำ Joint KPI เป็นเรื่องเป็นรำว ให้
หน่วยงำนที่เกี่ยวข้องมำคุยกัน ดูเป้ำหมำย ดูตัวชี้วัดที่เป็น Joint KPI ทั้งหมด แต่ตอนนี้ไม่มี
session นั้น ตอนนี้คนที่จะมำใส่เรื่อง Joint KPI คือ หลังบ้ำนว่ำใครเกี่ยวข้องบ้ำง แล้วเรำเอำ
โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ : 163
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ