Page 136 - kpi21365
P. 136

ความพร้อมเชิงกลยุทธ์ให้กับก าลังคนภาครัฐ และ (4) ติดตาม ตรวจสอบและประเมินผลการใช้ก าลังคนในส่วน
                  ราชการและหน่วยงานของรัฐ

                                เรื่องและประเด็นปฏิรูปที่ 5  ระบบบริหารงานบุคคลที่สามารถดึงดูด สร้าง และรักษาคนดีคน

                  เก่งไว้ในภาครัฐ ประกอบด้วย 6 กลยุทธ์ ได้แก่ (1) ดึงดูดผู้มีความรู้ความสามารถและมีจิตสาธารณะเข้ามาท างาน
                  ในหน่วยงานของรัฐ (2) ส่งเสริม จูงใจ และรักษาผู้มีความรู้ความสามารถและมีจิตสาธารณะไว้ในภาครัฐ (3) พัฒนา

                  ขีดความสามารถและความผูกพันต่อองค์กร (Engagement) ของบุคลากรภาครัฐ (4) สร้างผู้น าให้เป็นตัวอย่าง

                  (Leadership by Example) (5) ส่งเสริมคุณธรรมและจริยธรรมในการบริหารทรัพยากรบุคคล และ (6) พัฒนา
                  ทางก้าวหน้าในสายอาชีพและสร้างความต่อเนื่องในการด ารงต าแหน่ง

                                เรื่องและประเด็นปฏิรูปที่ 6  การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ คล่องตัว โปร่งใส และมีกลไกป้องกัน

                  การทุจริตทุกขั้นตอน ประกอบด้วย 2 กลยุทธ์ ได้แก่ (1) น าเทคโนโลยีดิจิทัลมาใช้ปรับปรุงระบบการจัดซื้อจัดจ้าง
                  ตรวจสอบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐเพื่อให้เกิดความโปร่งใสตรวจสอบได้

                                นอกจากแผนการปฏิรูปการบริหารราชการแผ่นดินแล้ว แผนที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์ด้านที่ 6

                  อีก 1 แผนคือ แผนการปฏิรูปประเทศด้านการป้องกันและปรามบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ เพื่อให้การ
                  ด าเนินการตามแผนการปฏิรูปฯ เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงได้ก าหนดประเด็นการปฏิรูปออกเป็น  4 ด้าน ดังนี้

                                1. ด้านการป้องกันและเฝ้าระวัง ประกอบด้วย 5 กลยุทธ์หลัก 1.1 เร่งสร้างการรับรู้และ

                  จิตส านึกของประชาชนในการต่อต้านการทุจริต ประพฤติมิชอบโดยความร่วมมือระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และ
                  ภาคประชาสังคม 1.2 ผลักดันให้มีกฎหมายรองรับการรวมตัวของประชาชนเพื่อต่อต้านการทุจริตประพฤติมิชอบ

                  ภายใน 2 ปี 1.3 ส่งเสริมให้ประชาชนรวมตัวกันรังเกียจการทุจริต และมีส่วนร่วมในการต่อต้านทุจริตด้วยการชี้

                  เบาะแสเมื่อพบเห็นการกระท าความผิด 1.4 การสร้างลักษณะนิสัยไม่โกงและไม่ยอมให้ผู้ใดโกง เพื่อต่อต้านการ
                  ทุจริตฯ โดยเริ่มจากเด็ก เยาวชน และผู้ปกครอง 1.5 เสริมสร้างบทบาทการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการ

                  เสริมสร้างธรรมาภิบาลและต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ

                                2. ด้านการป้องปราม ประกอบด้วย 12 กลยุทธ์หลัก 2.1 ให้ส่วนราชการมีการบริหารงานบุคคล
                  ที่เป็นตามระบบคุณธรรม (Merit System)ได้เจ้าหน้าที่ของรัฐที่เป็น “คนดี คนเก่ง คนกล้ายืนหยัดในสิ่งที่ถูกต้อง”

                  2.2 ให้หัวหน้าส่วนราชการ หัวหน้าหน่วยงานของรัฐ หรือผู้บังคับบัญชา มีมาตรการ เสริมสร้างวัฒนธรรมองค์กรใน

                  การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ และเป็นตัวอย่างในการบริหารงานด้วยความซื่อตรงและ
                  รับผิดชอบ กรณีปล่อยปละละเลยไม่ด าเนินการให้ถือเป็นความผิดวินัยหรือความผิดทางอาญา 2.3 เสริมสร้าง

                  หน่วยงานตรวจสอบภายในให้เป็นกลไกอิสระและมีความเป็นมืออาชีพใน การเฝ้าระวังการทุจริตในหน่วยงาน 2.4

                  ให้มีการลดการใช้ดุลยพินิจของเจ้าพนักงานของรัฐในการใช้อ านาจรัฐที่ได้รับมอบ 2.5 ให้เจ้าพนักงานของรัฐบริการ


                  โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ :
                                                                                                             117
                  ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ
   131   132   133   134   135   136   137   138   139   140   141