Page 141 - kpi21365
P. 141

ผลการเปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ ฯ ภายใต้หลักธรรมาภิบาล พบว่า
                  กลุ่มตัวอย่างที่มีสังกัดหน่วยงาน และต าแหน่งต่างกัน มีความคิดเห็นต่อระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ ฯ

                  ทั้งโดยรวม และในรายองค์ประกอบ ไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ส าหรับ กลุ่มตัวอย่างที่มี

                  ประสบการณ์ท างานต่างกัน มีความคิดเห็นต่อระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ ฯ โดยรวมแตกต่างกัน
                  ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ โดยรวม ได้แก่

                  ปัจจัยด้านผู้น า ( Beta = .32) ปัจจัยด้านค่านิยม/วัฒนธรรม (Beta = .27)  และปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม

                  ภายนอก (Beta = .17) ตามล าดับ
                                 ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า ปัญหาอุปสรรคของการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการ

                  ปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ ทั้งสามกรมมีปัญหา

                  ร่วมกัน คือ บุคลากรไม่เพียงพอ สมรรถนะของบุคลากร  งบประมาณไม่เพียงพอ  ความเร่งด่วนของนโยบายที่เข้า
                  แทรกการท างานประจ า ความเข้มแข็งขององค์กรภาคประชาชน  การสนับสนุนจากรัฐบาลและความพร้อมทาง

                  เทคโนโลยี ส าหรับแนวทางในการพัฒนาการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบ

                  การบริหารจัดการขององค์การภาครัฐ พบว่า รัฐบาลต้องทบทวนภารกิจและงบประมาณให้สอดคล้องกัน จัดล าดับ
                  ความเร่งด่วนในการท างาน พร้อม ๆ กันนั้น กรมทั้งสามต้องเร่งในการพัฒนาบุคลากรรุ่นใหม่ให้มีความรู้

                  ความสามารถเพียงพอในการทดแทนบุคลากรที่ก าลังจะเกษียณ ตลอดจนทั้งต้องหันมาให้ใช้เทคโนโลยีในการ

                  ท างานมากขึ้นเพื่อทดแทนบุคลากรและเพิ่มประสิทธิภาพในการท างาน ที่ส าคัญคือ ต้องให้ความส าคัญต่อการ
                  พัฒนาองค์กรภาคประชาชนให้เข้มแข็งเพื่อเป็นกลไกขับเคลื่อนนโยบายในระดับพื้นที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

                                ส่วนที่ 2 ความท้าทายในประเด็นธรรมาภิบาลกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ :  กรม

                  บังคับคดี กรมพัฒนาธุรกิจการค้า และกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม
                                ผลการวิจัยเชิงปริมาณ พบว่า ระดับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ

                  ภายใต้หลักธรรมาภิบาลโดยรวม อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.71  เมื่อจ าแนกเป็นรายปัจจัย พบว่า

                  ระดับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติภายใต้หลักธรรมาภิบาลค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับมาก
                  จ านวน 11 ปัจจัย และมีค่าเฉลี่ยใน ระดับปานกลางจ านวน 1 ปัจจัย โดยเรียงล าดับปัจจัยมีค่าเฉลี่ยจากมากที่สุด 3

                  ล าดับแรก  คือ ปัจจัยด้านผู้น า มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.95 รองลงมาได้แก่ ปัจจัยด้านโครงสร้าง

                  องค์การ โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.90  และปัจจัยด้านนโยบาย มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.86
                                ระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติภายใต้หลักธรรมาภิบาล พบว่า ระดับการ

                  ด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติภายใต้หลักธรรมาภิบาลโดยรวม อยู่ในระดับมาก โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.97 เมื่อ

                  จ าแนกเป็นรายด้าน พบว่า ระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติภายใต้หลักธรรมาภิบาล มีค่าเฉลี่ยอยู่ในระดับ


                  โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ :
                                                                                                             122
                  ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ
   136   137   138   139   140   141   142   143   144   145   146