Page 142 - kpi21365
P. 142
มากจ านวนทั้ง 6 ด้าน โดยเรียงล าดับรายด้านมีค่าเฉลี่ยจากมากที่สุดไปหาน้อยที่สุดได้ดังนี้ องค์ประกอบด้านหลัก
ความคุ้มค่า มีค่าเฉลี่ยมากที่สุด โดยมีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.04 รองลงมาได้แก่ องค์ประกอบด้านหลักความรับผิดชอบ
มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.03 องค์ประกอบด้านหลักนิติธรรม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.99 องค์ประกอบด้านหลักคุณธรรม มี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.99 องค์ประกอบด้านหลักความโปร่งใส มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.93 และสุดท้ายได้แก่ องค์ประกอบ
ด้านหลักการมีส่วนร่วม มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 3.87
ผลการวิเคราะห์เปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและ
พัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาล โดยรวมจ าแนกตามสังกัดหน่วยงานของกลุ่มตัวอย่าง
ต าแหน่งของกลุ่มตัวอย่าง และประสบการณ์ท างานของกลุ่มตัวอย่าง พบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามที่สังกัดหน่วยงาน
มีต าแหน่งงานและประสบการณ์ท างานต่างกัน มีระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุล
และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลโดยรวม ไม่แตกต่างกัน ส าหรับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ
การด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิ
บาลขององค์การภาครัฐ โดยรวม ได้แก่ ปัจจัยด้านผู้น า ( Beta = .30) ปัจจัยด้านค่านิยม/วัฒนธรรม ( Beta =
.20) ปัจจัยด้านกลุ่มเป้าหมาย (Beta = .24) ปัจจัยการสื่อสารระหว่างหน่วยงาน (Beta = .15) และปัจจัยด้าน
สภาพแวดล้อมภายนอก ( Beta = .14)
ผลการวิจัยเชิงคุณภาพ พบว่า ปัญหาอุปสรรคของการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ
ใน ด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ ทั้ง สามกรม
มีปัญหาร่วมกัน คือ บุคลากรไม่เพียงพอ การหมุนเวียนบุคลากรบ่อยท าให้การท างานไม่ต่อเนื่อง งบประมาณไม่
เพียงพอ การเปลี่ยนแปลงผู้บริหาร การบูรณาการการท างาน ส าหรับแนวทางในการพัฒนาการด าเนินงานตาม
ยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการขององค์การภาครัฐ พบว่า การพัฒนา
บุคลากรภายใน โดยเฉพาะอย่างยิ่งความรู้ความสามารถทางเทคโนโลยีเพื่อเพิ่มสมรรถนะการท างาน การเปิด
โอกาสให้บุคลากรทุกระดับมีส่วนร่วมในการแสดงความเห็น การติดตามตรวจสอบผลการด าเนินงานอย่างต่อเนื่อง
ระเบียบปฏิบัติที่เอื้อต่อการท างาน การมีส่วนร่วมของประชาชน การท างานแบบบูรณาการจะท าให้กรมสามารถ
ด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เมื่อเปรียบเทียบผลการวิจัยความท้าทายในประเด็นธรรมาภิบาลกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ
ของกรมการท่องเที่ยว กรมกิจการผู้สูงอายุ กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น ซึ่งเป็นกรมมีค่าคะแนนคุณธรรมและ
ความโปร่งใสในการด าเนินงานในปี 2560 ไม่ผ่านเกณฑ์ เปรียบเทียบกับ กรมบังคับคดี กรมพัฒนาธุรกิจการค้า
และกรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม ซึ่งเป็นกรมมีค่าคะแนนคุณธรรมและความโปร่งใสในการด าเนินงานในปี
2560 ผ่านเกณฑ์ พบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนา
โครงการวิจัยการติดตามการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติสู่การปฏิบัติ :
123
ยุทธศาสตร์ชาติด้านการปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ