Page 283 - kpi21193
P. 283
ระดับการปฏิบัติ
ตัวชี้วัด
“สมรรถนะองค์กร” กับการสร้างสรรค์นวัตกรรมท้องถิ่น
ประจำ บ่อยครั้ง บางครั้ง ไม่เคย ค่าเฉลี่ย ร้อยละ
6 องค์กรของคุณมักทดลองใช้แนวทางใหม่ ๆ (ที่ยังไม่รู้ 29 53 14 5 3.05 76.24
ผลลัพธ์ที่แน่นอน) ในการแก้ไขปัญหาในการทำงาน (28.71) (52.48) (13.86) (4.95) (ทำบ่อย) (ปานกลาง)
7 องค์กรของคุณให้ความสนใจกับสิ่งที่เกิดขึ้นโดยไม่ 59 33 8 1 3.49 87.13
คาดคิดระหว่างการดำเนินงาน เพราะมองว่าสิ่งนั้น (58.42) (32.67) (7.92) (0.99) (ทำบ่อย) (สูง)
อาจเป็นประโยชน์ต่อการสร้างนวัตกรรม หรือปรับปรุง
การดำเนินงานขององค์กร
8 องค์กรของคุณมักปรึกษาผู้เชี่ยวชาญ (อาทิ อาจารย์ 75 21 5 0 3.69 92.33
มหาวิทยาลัยในพื้นที่ ข้าราชการผู้มีประสบการณ์ (74.26) (20.79) (4.95) (0.00) (ประจำ) (สูงมาก)
ปราชญ์ชาวบ้าน) /ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย เพราะเห็นว่า
ความรู้ของพวกเขาสามารถช่วยแก้ไขปัญหาในการ
ทำงานที่เกิดขึ้นได้
1.3) วิธีปฏิบัติในการเอื้อให้เกิดนวัตกรรม
คะแนนสูงมาก
ตัวชี้วัดที่มีคะแนนอยู่ในระดับสูง คือ ตั้งแต่ร้อยละ 90.01 ขึ้นไป มี 3 ตัวชี้วัด
ได้แก่ (1) บุคลากรในองค์กรมีโอกาสในการนำเสนอโครงการหรือกิจกรรมที่เป็นนวัตกรรมต่อ
ผู้บังคับบัญชาได้ แม้ไม่ใช่ฝ่ายแผนหรือหน่วยงานวิชาการ ร้อยละ 92.57 (2) นายกฯ มักส่งเสริม
ให้บุคลากรพัฒนาความรู้และทักษะจนกลายเป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน ร้อยละ 92.33 และ
(3) นายกฯ ไว้วางใจให้บุคลากรใช้ดุลพินิจในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย ร้อยละ 92.98
คะแนนต่ำ
ไม่มีตัวชี้วัดที่มีคะแนนอยู่ในระดับต่ำ คือ ต่ำกว่า 70.00 ลงไป
ภาคผนวก ตารางที่ 3 : คะแนนตัวชี้วัดวิธีปฏิบัติในการเอื้อให้เกิดนวัตกรรมขององค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่นที่ได้รับรางวัลพระปกเกล้าทองคำและรางวัลพระปกเกล้า ประจำปี 2561
ระดับการปฏิบัติ
ตัวชี้วัด
ประจำ บ่อยครั้ง บางครั้ง ไม่เคย ค่าเฉลี่ย ร้อยละ
1-3 วิธีปฏิบัติในการเอื้อให้เกิดนวัตกรรม
1 บุคลากรในองค์กรมักได้รับการส่งเสริมให้แก้ไขปัญหา 49 35 17 0 3.32 82.92
หน้างาน/ปัญหาเฉพาะหน้าด้วยตนเอง แทนที่จะ (48.51) (34.65) (16.83) (0.00) (ทำบ่อย) (สูง)
ส่งเรื่องให้ผู้บังคับบัญชาตัดสินใจ
2 นายกฯ มักส่งเสริมให้บุคลากรพัฒนาความรู้และ 75 21 5 (4.95) 0 3.69 92.33
ทักษะจนกลายเป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (74.26) (20.79) (0.00) (ประจำ) (สูงมาก)
2 สถาบันพระปกเกล้า