Page 91 - kpi21190
P. 91
กล่าวถึงโครงสร้าง ๕ ประการ
๒. ความเหลื่อมล้ าเป็นปัญหาเชิงโครงสร้าง
โครงสร้างที่ถักทอกันอย่างแข็งแรง และกักขังสังคมไว้ในความไม่เป็นธรรมมีหลายมิติและซับซ้อนมาก เพื่อพอ
ให้เริ่มต้นได้และเข้าใจง่ายพอ จะกล่าวถึงโครงสร้างเพียง ๕ อย่าง ซึ่งจากโครงสร้าง ๕ นี้ ผู้อ่านสามารถต่อเติม
91
โครงสร้างอื่นๆ เพิ่มเติมได้
โครงสร้าง ๕ คือ
โครงสร้าง 5 คือ
(๑) โครงสร้างทางวิธีคิด
(1) โครงสร้างทางวิธีคิด
(๒) โครงสร้างทางจิตส้านึกแห่งความเป็นธรรม
(2) โครงสร้างทางจิตสำนึกแห่งความเป็นธรรม
(๓) โครงสร้างทางสังคม
(3) โครงสร้างทางสังคม
(๔) โครงสร้างทางเศรษฐกิจ
(4) โครงสร้างทางเศรษฐกิจ
(๕) โครงสร้างอ้านาจรัฐ
(5) โครงสร้างอำนาจรัฐ
โครงสร้างทั้ง ๕ ถักทอกันเป็นโครงสร้างแห่งความเป็นธรรมหรือไม่เป็นธรรม
โครงสร้างทั้ง 5 ถักทอกันเป็นโครงสร้างแห่งความเป็นธรรมหรือไม่เป็นธรรม
๒ โครงสร้างแรกเป็นนามธรรมที่อาจมองไม่เห็น แต่มีผลเชิงลึกมาก อีก ๓ โครงสร้างเป็นรูปธรรมที่
2 โครงสร้างแรกเป็นนามธรรมที่อาจมองไม่เห็น แต่มีผลเชิงลึกมาก อีก
เห็นได้ง่ายกว่า ซึ่งขยายความพอเป็นสังเขป ดังต่อไปนี้
3 โครงสร้างเป็นรูปธรรมที่เห็นได้ง่ายกว่า ซึ่งขยายความพอเป็นสังเขป ดังต่อไปนี้
(1) โครงสร้างวิธีคิดในสังคมไทย ที่คิดเรื่องดีชั่วเป็นการส่วนบุคคล หรือถึงกับเลยไปถึง
(๑) โครงสร้างวิธีคิดในสังคมไทย ที่คิดเรื่องดีชั่วเป็นการส่วนบุคคล หรือถึงกับเลยไปถึงกรรมแต่ชาติปาง
กรรมแต่ชาติปางก่อน โดยไม่เข้าใจปัญหาและการแก้ไขเชิงระบบและโครงสร้าง
ก่อน โดยไม่เข้าใจปัญหาและการแก้ไขเชิงระบบและโครงสร้าง ท้าให้แก้ไขความไม่เป็นธรรมและ
ทำให้แก้ไขความไม่เป็นธรรมและปัญหาความเหลื่อมล้ำไม่ได้ แต่กลับซ้ำเติมให้
ปัญหาความเหลื่อมล้้าไม่ได้ แต่กลับซ้้าเติมให้ปัญหารุนแรงมากขึ้น เพราะคิดว่าคนจนต้องท้ากรรมไม่ดี
ปัญหารุนแรงมากขึ้น เพราะคิดว่าคนจนต้องทำกรรมไม่ดีไว้ เกิดมาชาตินี้จึงยากจน
ไว้ เกิดมาชาตินี้จึงยากจน ท้าให้สังคมไทยรังเกียจคนจนว่าเป็นคนไม่ดีสมัยก่อนถึงกับเรียกคนจนว่าคน
ทำให้สังคมไทยรังเกียจคนจนว่าเป็นคนไม่ดีสมัยก่อนถึงกับเรียกคนจนว่าคนเลว
เลว สุภาษิตเช่น “รักดีหามจั่ว รักชั่วหามเสา” “ขอให้ได้เป็นเจ้าคนนายคน” “ขอให้ได้นั่งกินนอนกิน”
สุภาษิตเช่น “รักดีหามจั่ว รักชั่วหามเสา” “ขอให้ได้เป็นเจ้าคนนายคน” “ขอให้ได้
ล้วนบ่งชี้ไปสู่ความคิดว่าคนจนเป็นคนไม่ดี ชาวพุทธทั้งพระและฆราวาส ก็มีส่วนไม่ใช่น้อยที่อ้างเรื่อง Keynote Speaker
นั่งกินนอนกิน” ล้วนบ่งชี้ไปสู่ความคิดว่าคนจนเป็นคนไม่ดี ชาวพุทธทั้งพระและ
“กรรมเก่า” ว่าเป็นหลักทางพุทธ ทั้งๆ ที่มีหลักฐานปรากฏในพระไตรปิฎกว่าพระพุทธเจ้าตรัสปฏิเสธ
ฆราวาส ก็มีส่วนไม่ใช่น้อยที่อ้างเรื่อง “กรรมเก่า” ว่าเป็นหลักทางพุทธ ทั้ง ๆ ที่มี
หลักฐานปรากฏในพระไตรปิฎกว่าพระพุทธเจ้าตรัสปฏิเสธเรื่องผลของกรรมเก่า
หลักคิดที่สำคัญทางพุทธที่เรียกว่า อิทัปปจยตา หรือกระแสของเหตุปัจจัย หรือ
ห่วงโซ่ของความเป็นเหตุเป็นผลนั้น ถ้าไล่ไปตามเหตุปัจจัยก็จะเจอเหตุปัจจัยเชิง