Page 370 - kpi21190
P. 370
370
แล้วหนุนเสริมด้วยกรอบแนวคิดที่ว่าด้วยกระบวนการทำให้เป็นการเมืองที่เชื่อมโยงเข้ากับ ในเชิงนโยบายที่มักจะข้องเกี่ยวกับประเด็นความเป็นมุสลิม เช่น พระราชบัญญัติส่งเสริมกิจการ
การแปรเปลี่ยนความขัดแย้งให้เป็นประเด็นทางการเมือง ซึ่งมุ่งเน้นในการทำความเข้าใจเรื่อง ฮัจญ์ การเคลื่อนไหวประเด็นเรื่องการคลุมฮิญาบ หรือการสนับสนุนการก่อตั้งธนาคารอิสลาม
การปะทะ ต่อรอง รวมถึงจุดที่แปรเปลี่ยนความขัดแย้งที่ใช้อาวุธให้กลายเป็นประเด็นการเรียกร้อง เป็นต้น ในแง่นี้เองตัวตนของนักการเมืองมลายูมุสลิมจึงมีความใกล้ชิดกับอัตลักษณ์ของประชาชน
ทางการเมืองโดยใช้แนวทางทางการเมืองแทนการใช้อาวุธ ส่วนใหญ่ในพื้นที่รวมถึงตัวนักการเมืองเองอย่างค่อนข้างเห็นได้ชัด อาจกล่าวได้ว่า การเป็น
ตัวแทนในมุมของนักการเมืองมลายูมุสลิมมีความใกล้ชิดกับเรื่องของการเป็นตัวแทนในเชิง
จากงานทั้งหมดข้างต้นจะพบว่า งานชิ้นนี้แตกต่างจากงานที่กล่าวไปแล้วข้างต้น คำถามของ อัตลักษณ์ของผู้คน และอาจเป็นเพราะพื้นที่นี้อยู่ภายใต้สถานการณ์ความไม่สงบมาอย่างยาวนาน
วิทยานิพนธ์ของดวงยิหวาและธนิกุล มุ่งที่จะมองไปสู่การมีส่วนร่วมทางการเมืองและพฤติกรรม ทำให้ความคาดหวังของการแก้ไขปัญหาในพื้นที่ของประชาชนจึงมักตกอยู่กับนักการเมืองมลายู
การเลือกทางการเมืองของผู้คนในพื้นที่ ขณะที่งานของ Ockey ชี้ให้เห็นถึงพัฒนาการของ มุสลิม และส่งผลให้ความเป็นนักการเมืองมลายูมุสลิมจะต้องขับเคลื่อนบางอย่างที่เกี่ยวข้องกับ
นักการเมืองแต่หยุดลงที่ช่วงต้นของความรุนแรง เฉกเช่นเดียวกับชุดหนังสือนักการเมืองท้องถิ่น เรื่องของสถานการณ์ในพื้นที่ด้วยเช่นกัน
ของสถาบันพระปกเกล้าที่มุ่งเน้นนำเสนอข้อมูลภาพกว้างของนักการเมือง งานวิจัยที่ได้ศึกษา
เอาไว้จึงอาจกล่าวได้ว่าเป็นการสานต่อเรื่องราวที่งานวิจัยชิ้นต่างๆ ที่ระบุไว้ได้ศึกษามา โดยมุ่งเน้น หากมองในเชิงรายละเอียด จะพบว่าในช่วงเวลาก่อนปี พ.ศ.2547 มีการขับเคลื่อนของกลุ่ม
ศึกษาผ่านกรอบช่วงของความรุนแรงที่จะทำให้เห็นถึงพลวัตของนักการเมืองในพื้นที่ จากข้อมูล นักการเมืองมลายูมุสลิมที่ดำเนินการต่อเนื่องมาตั้งแต่การเลือกตั้งทั่วไปครั้งที่ 2 ของประเทศไทย
ทางประวัติศาสตร์ผ่านงานหลายๆ ชิ้นที่กล่าวถึงไปแล้วข้างต้นชี้ให้เห็นว่า มีนักการเมืองมลายู ในปี พ.ศ. 2480 ในระหว่างนี้มีการเกิดรัฐประหารรวมถึงมีการปรับเปลี่ยนของรัฐธรรมนูญ
มุสลิมที่เคยเข้าสู่ระบบรัฐสภา แต่กลับกลายเป็นความผิดหวังและหันไปตั้งขบวนการติดอาวุธ หลายฉบับ ขณะเดียวกันความรุนแรงในพื้นที่ก็เริ่มก่อตัวขึ้นอย่างเห็นได้ชัด นับตั้งแต่การเปลี่ยน
ตลอดจนเรื่องราวของนักการเมืองที่เมื่อเข้าสู่พื้นที่ทางการเมือง แต่ก็ยังถูกมองว่ามีความข้อง แนวทางของหนึ่งในอดีตสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมลายูมุสลิมคนแรก อย่างนายอดุลย์ ณ สายบุรี
เกี่ยวกับกลุ่มติดอาวุธ หากทว่านักการเมืองเหล่านี้ก็ยังคงเดินอยู่ในสายการเมืองผ่านการเลือกตั้ง ไปสู่การจัดตั้งกลุ่มขบวนการต่อสู้ขึ้นมาในช่วงปี พ.ศ.2500 และมีการตั้งขบวนการอีกหลายพรรค
ต่อไป ขณะเดียวกันในห้วงเวลาของความรุนแรงยังมีการแสดงออกของประชาชนที่มีผ่านการเลือกตั้ง หรือหลายองค์กรตามมาภายหลัง และหนึ่งในประวัติศาสตร์บาดแผลของชาวมลายูมุสลิมชายแดน
ที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนหน้าตาของนักการเมืองในพื้นที่จนกระทั่งนักการเมืองต้องปรับตัวและ ใต้ที่เกิดขึ้นกับหะยีสุหลง อับดุลกอเดร์ โต๊ะมีนา ในช่วงเวลานั้น นอกจากเป็นหนึ่งในปัจจัยที่ทำให้
ปรับกลยุทธ์เพื่อเข้าถึง อย่างไรก็ตามในบทความชิ้นนี้จะมุ่งเน้นไปที่พลวัตการเคลื่อนไหวใน 3 มิติ เกิดขบวนการต่อสู้ต่างๆ แล้ว ยังเป็นจุดเริ่มต้นสำหรับเส้นทางทางการเมืองของบุคคล
ที่น่าสนใจ คือ ตัวตนของนักการเมืองนับตั้งแต่ก่อนปี 2547 จนกระทั่งหลังปี 2547 ตลอดจน ในครอบครัวโต๊ะมีนาตามมา ไม่ว่าจะเป็นหะยีอามีน โต๊ะมีนา หรือเด่น โต๊ะมีนา ในขณะเดียวกัน
โอกาสและข้อท้าทายสำหรับความเป็นนักการเมืองมลายูมุสลิม เพื่อชี้ให้เห็นถึงนัยสำคัญที่ ความรุนแรงที่เกิดขึ้นจากการถูกปฏิบัติอย่างอธรรมของชาวมลายูมุสลิมที่สะพานกอตอซึ่งนำไปสู่
อัตลักษณ์มีต่อการเมืองในพื้นที่ชายแดนใต้นั่นเอง การประท้วงใหญ่ในปี พ.ศ.2518 ยังเป็นอีกหนึ่งจุดเริ่มต้นสำคัญที่ก่อให้เกิดนักการเมืองของพื้นที่
ในเวลานั้นอีกหลายคน เมื่อความรุนแรงเริ่มมากขึ้นในช่วงต่อๆ มา การรวมตัวกันของกลุ่มนักการเมือง
นักการเมืองมลายูมุสลิมในพื้นที่ชายแดนใต้: ตัวตน ที่เป็นผู้ที่ได้รับผลกระทบจากการเป็นคนในครอบครัว หรือกระทั่งเป็นกลุ่มคนที่ออกมาขับเคลื่อน
เพื่อต่อสู้เรียกร้องสิทธิให้ประชาชนก็เริ่มค่อยๆ รวมตัวกันจนเกิดเป็นกลุ่มวาดะห์ ซึ่งทำงาน
หากกล่าวถึงตัวตนของนักการเมืองมลายูมุสลิมตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมาไม่ว่าจะเป็นช่วงก่อน ทางการเมืองในเขตพื้นที่นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2529 อย่างไรก็ตาม กลุ่มวาดะห์ก็ไม่ได้เป็นเพียงกลุ่ม
หรือหลังจากเกิดสถานการณ์ความไม่สงบในพื้นที่ จะพบว่านักการเมืองมลายูมุสลิมมีการ นักการเมืองกลุ่มเดียวที่ทำงานในช่วงเวลานี้ ในบางพื้นที่โดยเฉพาะเขตเมืองของทั้งสามจังหวัด
ขับเคลื่อนเพื่อเรียกร้องสิทธิให้กับประชาชนในพื้นที่มาโดยตลอด นอกเหนือจากนั้นสิ่งที่เป็นตัวตน ก็ยังคงเป็นฐานเสียงของพรรคประชาธิปัตย์ โดยเฉพาะภายหลังจากปี พ.ศ. 2531 ที่นักการเมือง
ของนักการเมืองในพื้นที่ยังประกอบสร้างผ่านการทำงานขับเคลื่อนเพื่อสังคมในฐานะองค์กร จากกลุ่มวาดะห์ได้ย้ายเข้าไปสังกัดพรรคความหวังใหม่แทน (อิมรอน ซาเหาะ, 2558)
ภาคประชาสังคม นักกฎหมาย หรือกระทั่งเป็นผู้มีอิทธิพลที่ทำงานให้กับประชาชนได้ระดับหนึ่ง การอุ้มทนายสมชาย นีละไพจิตร รวมถึงเหตุการณ์กรือเซะและตากใบ ในช่วงปีนั้นเป็นช่วงเวลาที่
ในช่วงเวลาที่เกิดเหตุการณ์ไม่ว่าจะเป็นเหตุการณ์ปล้นปืนในต้นปี พ.ศ. 2547 เหตุการณ์
บทความที่ผ่านการพิจารณา ประชาชนผ่านหัวคะแนนที่จะมีผลอย่างมากต่อฐานเสียงของนักการเมืองระดับชาติในพื้นที่ ตัวแทนจากกลุ่มนักการเมืองในพื้นที่ชายแดนใต้ส่วนใหญ่มาจากสายวาดะห์ และยังเป็นช่วงที่นับ
นอกจากนั้นลักษณะที่เห็นได้ชัดของการขับเคลื่อนของนักการเมืองในพื้นที่จะเห็นถึงการเข้าถึง
ขณะเดียวกันยังสามารถเห็นลักษณะของการถ่ายทอดการทำงานทางการเมืองแก่สมาชิก
ได้ว่ามีตัวแทนที่เป็นนักการเมืองจากพื้นที่ชายแดนใต้ได้เข้าสู่ตำแหน่งรัฐมนตรีกระทรวงใหญ่ คือ
ในครอบครัว ตลอดจนยังสามารถเห็นการยกฐานะจากผู้ที่สามารถช่วยเหลือชาวบ้านสู่การเป็น
กระทรวงมหาดไทย ซึ่งเป็นข้อกังขาและเป็นสิ่งที่ทำให้ประชาชนในพื้นที่ผิดหวังไม่น้อยต่อการที่
ตัวแทน
รัฐมนตรีกระทรวงมหาดไทยในเวลานั้นไม่สามารถใช้อำนาจที่มีในการปกป้องชีวิตของประชาชน
โดยที่ลักษณะเฉพาะที่กล่าวไว้ข้างต้น จะเห็นอย่างค่อนข้างชัดเจนว่าการขับเคลื่อนส่วนใหญ่
ของนักการเมืองมลายูมุสลิมใช้ความเป็นมลายูมุสลิมในการหาเสียง รวมถึงการดำเนินขับเคลื่อน หรือเรียกร้องความยุติธรรมจากกรณีเหตุการณ์กรือเซะและตากใบได้ ในมุมมองของนักการเมืองเอง