Page 366 - kpi21190
P. 366

366



               บทนำ                                                                                                            นับตั้งแต่ความรุนแรงในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้เกิดขึ้นระลอกใหม่ในปี พ.ศ.2547 เป็นต้นมา
                                                                                                                          หากมองในภาพรวมช่วงเวลาตั้งแต่ปี พ.ศ.2547 ถึงปัจจุบันมีการเลือกตั้งทั่วไปทั้งสิ้น 4 ครั้ง

                    ในช่วง 15 ปีที่ผ่านมา จังหวัดชายแดนใต้ตกอยู่ในห้วงของความรุนแรง ที่แม้จะดูเหมือนว่า                   มีการเลือกตั้งอีก 1 ครั้งที่เป็นอันต้องโมฆะ อีกทั้งยังมีการลงประชามติเพื่อแก้ไขรัฐธรรมนูญอีก
               มีแนวโน้มจะเกิดเหตุการณ์ความรุนแรงลดลง แต่ปัญหาของความรุนแรงก็ยังคงมีอย่างต่อเนื่อง                        2 ครั้ง แม้ว่าจะมีช่วงเวลาให้นักการเมืองต้องทำงานหลายครั้ง แต่ในช่วงเวลานี้เองก็ยังเกิด
               มีข้อเสนอแนะและความพยายามต่างๆ มากมายจากหลากหลายฝ่ายในสังคมที่ร่วมกันนำเสนอ                                การรัฐประหาร 2 ครั้ง และความไม่ลงตัวของบริบททางการเมืองทั้งประเทศในช่วงที่ผ่านมา
               เพื่อต้องการที่จะให้เกิดสันติภาพในพื้นที่ ขณะเดียวกันก็มีงานศึกษาจำนวนมากที่เกิดจากความ                    ก็เป็นอีกหนึ่งปัจจัยที่ส่งผลต่อการขับเคลื่อนของนักการเมืองในพื้นที่ขัดแย้งด้วยเช่นกัน งานชิ้นนี้
               สนใจในการที่จะศึกษาประเด็นต่างๆ นับตั้งแต่เกิดเหตุการณ์ความไม่สงบเป็นต้นมา งานศึกษา                        จึงจะค่อยๆ คลี่ให้เห็นถึงพัฒนาการของการปรับตัวของนักการเมืองในแต่ละช่วงนับตั้งแต่ปี
               เหล่านี้ล้วนสร้างสรรค์ให้เกิดความเข้าใจต่อพื้นที่ในมุมมองที่หลากหลายมากยิ่งขึ้น อย่างไรก็ตาม               พ.ศ. 2547 มาถึงปี พ.ศ. 2562 ภายใต้บริบททางการเมืองระดับใหญ่ของประเทศที่ไม่ลงตัว

               หากพิจารณาในมิติทางการเมืองแล้ว การศึกษากลุ่มที่ขึ้นชื่อว่ามีบทบาทที่สำคัญไม่น้อยในสังคม                   รวมถึงบริบทของความรุนแรงที่เพิ่มขึ้นและลดลงในแต่ละช่วงเวลา งานชิ้นนี้ขับเคลื่อนอยู่บน
               นับตั้งแต่ก่อนเกิดเหตุการณ์จนเข้าสู่ช่วงเหตุการณ์ที่คนกลุ่มนี้ก็ยังคงมุ่งเน้นที่จะใช้พื้นที่ทาง            การอธิบายคำสำคัญๆ 3 คำ คือ นักการเมือง มลายูมุสลิม และชายแดนใต้ ซึ่งจะค่อยๆ ถอดให้
               การเมือง นั่นก็คือ นักการเมืองระดับชาติที่เป็นมลายูมุสลิมในจังหวัดชายแดนใต้ ซึ่งเป็น                       เห็นความสัมพันธ์ของแต่ละคำตลอดงานวิจัย
               กลุ่มศึกษาหลักที่งานวิจัยเชิงคุณภาพเรื่อง “พลวัตการเคลื่อนไหวของนักการเมืองมลายูมุสลิม                          เมื่อกล่าวถึงกลุ่มนักการเมืองในพื้นที่แล้ว ที่ผ่านมามีงานศึกษาที่เกี่ยวข้องกับประเด็นนี้
               ท่ามกลางความรุนแรงในพื้นที่ชายแดนใต้” ซึ่งได้รับการสนับสนุนโดยสำนักงานกองทุนสนับสนุน                       อยู่ไม่มากนัก สถาบันสิทธิมนุษยชนและสันติศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดลได้จัดวงสานเสวนาเพื่อ
               การวิจัยได้ศึกษาไว้แล้ว ซึ่งมีคำถามวิจัยของงานชิ้นนี้ต้องการมุ่งเน้นถึงการมองบนฐานข้อมูล                   แลกเปลี่ยนปัญหาและทางออกระหว่างนักการเมืองจังหวัดชายแดนใต้ ซึ่งมุ่งเน้นในการเปิดพื้นที่
               ที่ปรากฏให้เห็นถึงการปรับตัวอย่างเห็นได้ชัดของนักการเมืองมลายูมุสลิมในช่วงหลังจากเกิด                      ให้นักการเมืองในพื้นที่ชายแดนใต้ได้แลกเปลี่ยนปัญหาและหาทางออกร่วมกัน โดยกิจกรรมนี้

               เหตุการณ์ความไม่สงบเป็นต้นมา โดยได้สัมภาษณ์นักการเมืองที่เคยได้รับเลือกจากประชาชน                          มุ่งเน้นไปที่การสานเสวนาเพื่อให้นักการเมืองแสดงความเห็นเรื่องการแก้ไขปัญหาในพื้นที่
               ในอดีตและที่เพิ่งชนะการเลือกตั้งในครั้งล่าสุดนี้ และได้จัดทำสนทนากลุ่มกับนักการเมือง                       ขณะเดียวกันมีงานเขียนของ ดวงยิหวา อุตรสินธุ์ ที่ศึกษาและวิเคราะห์การเมืองของกลุ่ม
               นักวิชาการ และภาคประชาสังคมในพื้นที่ชายแดนใต้ ตลอดจนได้สังเกตการมีส่วนร่วมและไม่มี                         นักการเมืองหลักๆ ในพื้นที่ออกมา ตลอดจนบทวิเคราะห์อื่นๆ ที่พยายามทำความเข้าใจการเมือง
               ส่วนร่วมในกิจกรรมที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนได้ทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้องในประเด็นดังกล่าวนี้                       ในพื้นที่สามจังหวัดชายแดนใต้ออกมาเป็นครั้งคราว โดยเฉพาะในช่วงการเลือกตั้ง ดวงยิหวา
               บทความชิ้นนี้นับว่าเป็นส่วนหนึ่งจากภาพรวมของการขับเคลื่อนของนักการเมืองมลายูมุสลิม                         อุตรสินธุ์ (Utarasint, 2018)  ยังเขียนวิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอกเรื่อง Voices and Votes

               ที่ได้ระบุไว้ในงานวิจัยชิ้นที่กล่าวถึงข้างต้น โดยจะมุ่งเน้นไปที่ตัวตน โอกาสและข้อท้าทายของ                 Amid Violence: Power and Electoral Accountability in Thailand’s Deep South ซึ่งเป็น
               ความเป็นนักการเมืองมลายูมุสลิม                                                                             วิทยานิพนธ์ที่เน้นในเรื่องพฤติกรรมการออกเสียงของประชาชนในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้ โดยที่

                    แม้ว่าการขับเคลื่อนเพื่อเรียกร้องสิทธิและรักษาอัตลักษณ์ของกลุ่มมลายูมุสลิมจะถูก                       งานชิ้นนี้ยังได้สรุปถึงพัฒนาการทางการเมืองของพื้นที่ชายแดนใต้ตลอดช่วงเวลาที่ผ่านมากระทั่งปี
               แปรเปลี่ยนเป็นการใช้กำลังวิถีหรือวิธีการของใช้ความรุนแรง โดยเฉพาะในช่วงแรกที่สยามประเทศ                    พ.ศ. 2554 งานชิ้นนี้ได้เน้นย้ำว่าผลของการเลือกตั้งที่ประชาชนออกมาใช้สิทธิในแต่ละครั้ง
               เปลี่ยนมาสู่การปกครองโดยระบอบประชาธิปไตย ที่ปรากฏว่ามีหนึ่งในสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร                          จะสามารถชี้ให้เห็นถึงความต้องการของประชาชนในแต่ละช่วงได้ในระดับหนึ่ง ในพื้นที่จังหวัด

               มลายูมุสลิมคนแรกผิดหวังกับการต่อสู้ในระบบรัฐสภาจนหนีออกนอกประเทศไปก่อตั้งขบวนการ                           ชายแดนภาคใต้ประชาชนส่วนใหญ่อยู่ภายใต้ความหวาดระแวง หากมีการเคลื่อนไหวที่เห็นได้ชัด
               ต่อสู้โดยใช้กองกำลังเพื่อเรียกร้องสิทธิของชาวมลายูในพื้นที่ชายแดนใต้ โดยขบวนการที่เขาก่อตั้ง               ก็จะทำให้กลายเป็นผู้ต้องสงสัยในการสนับสนุนกลุ่มขบวนการได้ ดังนั้นงานชิ้นนี้จึงสรุปว่า
               ยังคงต่อสู้เรื่อยมาจนถึงปัจจุบัน แต่ในอีกมุมหนึ่งก็ปฏิเสธไม่ได้ว่ามีการเคลื่อนไหวของกลุ่มนักการเมือง       การออกไปเลือกตั้งของประชาชนจึงนับได้ว่าเป็นหนึ่งในเครื่องมือที่มีความเสี่ยงน้อยสำหรับการให้
               มลายูมุสลิมในพื้นที่ซึ่งอาจประสงค์ในการเรียกร้องสิทธิของคนในพื้นที่เช่นเดียวกัน แต่เลือกใช้วิธี            ประชาชนในพื้นที่แสดงออกถึงความต้องการ เมื่อระดับของความรุนแรงสูงขึ้น ระดับของการมี
        บทความที่ผ่านการพิจารณา   ผลประโยชน์ในแง่มุมต่างๆ แต่ถึงที่สุดแล้วกลับยังไม่เห็นว่าโดยแท้จริงหลักคิดและรูปแบบ     รัฐบาลจะได้รับเสียงที่มากขึ้นจากประชาชนในพื้นที่ หากว่าเป็นความรุนแรงในระดับใหญ่แล้ว
                                                                                                                          ส่วนร่วมทางการเมืองของผู้คนก็จะสูงขึ้น และมีแนวโน้มว่าผลที่ออกมาจะเป็นไปในทางที่ฝ่ายตรงข้าม
               ทางการเมืองแทน แม้ว่าจะเป็นที่เข้าใจในสังคมว่ากลุ่มนักการเมืองมักจะเกี่ยวข้องกับเรื่อง

                                                                                                                          ก็จะทำให้เรื่องราวที่เกิดขึ้นถูกนำไปสื่อสารต่อเพื่อทำให้เกิดความรู้สึกร่วมของกลุ่มชาติพันธุ์ที่ได้รับ
               การเคลื่อนไหวของกลุ่มนี้เป็นไปอย่างไร มีอิทธิพลของความคิดแบบใดที่เข้ามามีส่วน และสถานะ
                                                                                                                          ผลจากความรุนแรงนั้นๆ กระทั่งแปรไปสู่การตัดสินใจเลือกผู้แทนทางการเมืองของตนเอง เมื่ออยู่
               ของการเป็นนักการเมืองระดับชาติในพื้นที่ขัดแย้งเป็นอย่างไร มีพลวัตของการเคลื่อนไหวหรือไม่
                                                                                                                          ท่ามกลางความขัดแย้งสิ่งหนึ่งที่ประชาชนจะสังเกตนักการเมือง คือ การตอบสนองและท่าทีของ
               สิ่งเหล่านี้จึงเป็นสิ่งที่น่าสนใจ เนื่องจากหากพิจารณาในพื้นที่ความขัดแย้งอื่นๆ เช่น เคิร์ด
               มินดาเนา อาเจะห์ หรือไอร์แลนด์เหนือ ก็ตาม ล้วนแล้วแต่จะเห็นบทบาทของกลุ่มนักการเมือง
                                                                                                                          นอกจากนั้นแล้วงานวิจัยชิ้นนี้ยังชี้ให้เห็นว่า รูปแบบของการเข้าถึงประชาชนของนักการเมืองภาย
               เมื่อจุดของความขัดแย้งเคลื่อนเข้าสู่จุดที่ความรุนแรงไม่ใช่ทางออกของปัญหาอีกต่อไป                           พวกเขาต่อเหตุการณ์ความไม่สงบที่เกิดขึ้นผ่านช่องทางการสื่อสารที่ทำได้ง่ายขึ้นในยุคโลกาภิวัตน์
   361   362   363   364   365   366   367   368   369   370   371