Page 372 - kpi21190
P. 372

372



               ก็ยอมรับว่าการที่กลุ่มวาดะห์พ่ายแพ้ในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2548 เป็นสิ่งที่ถูกต้องแล้ว ที่เมื่อ                   หลังจากเกิดเหตุการณ์ใน พ.ศ. 2547 แล้ว สมาชิกพรรควาดะห์บางส่วนที่พ่ายแพ้ในการ
               ประชาชนไม่พอใจรัฐบาลก็ลงโทษนักการเมืองที่ร่วมรัฐบาลในขณะนั้น ขณะเดียวกันในมุมของ                           เลือกตั้ง พ.ศ. 2548 และได้กระจายตัวออกไปสังกัดพรรคที่แตกต่างกันหลังมีการรัฐประหาร
               นักการเมืองกลุ่มวาดะห์เอง พวกเขาก็ได้พยายามอย่างเต็มที่แล้วที่จะเสนอแนะแนวทางการแก้ไข                      ใน พ.ศ. 2549 และส่วนใหญ่ก็ยังไม่ประสบความสำเร็จเหมือนการเลือกตั้งก่อน พ.ศ. 2547 ไม่
               ปัญหาที่สอดคล้องกับบริบท ณ ขณะนั้น แก่รัฐบาลในเวลาดังกล่าว แต่ทว่าผู้นำรัฐบาลในขณะนั้น                     ว่าจะเป็นในการเลือกตั้ง พ.ศ. 2550 และ พ.ศ. 2554 หากแต่ใน พ.ศ. 2554 ตัวแทนจากกลุ่ม
               ไม่ฟังและไม่เชื่อใจพวกเขา ถึงขนาด ส.ส. ในกลุ่มวาดะห์เองยังถูกจับกุมดำเนินคดี และรัฐมนตรี                   วาดะห์ที่ได้กระจายตัวไปสู่พรรคที่ต่างกันไปในปีนั้น เมื่อรวมคะแนนเสียงของพรรคที่แยกกันไป

               ยังต้องไปเป็นพยานที่ศาล (วันมูหะมัดนอร์ มะทา, 2562)                                                        นั้นก็จะเป็นเสียงส่วนมากที่ทำให้ชนะได้

                    ผลการเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2548 ถูกมองว่าเป็นการลงโทษต่อพรรคไทยรักไทยภายใต้                                   ในช่วงเวลานี้มิได้มีแต่กลุ่มที่แตกกัน หากแต่มีกลุ่มนักการเมืองในพื้นที่ที่รวมตัวอย่าง
               การนำของรัฐบาลทักษิณ ชินวัตร ซึ่งเดิมมีจำนวน ส.ส. ในพื้นที่จำนวน 6 คน โดยที่ส่วนใหญ่                       หลวมๆ ภายใต้ชื่อกลุ่มสัจจานุภาพนำโดย นายแพทย์แวมาฮาดี แวดาโอะ ซึ่งเป็นนายแพทย์
               แล้วมาจากกลุ่มวาดะห์ ซึ่งสังกัดพรรคความหวังใหม่ และย้ายเข้ากับพรรคไทยรักไทยในเวลาต่อมา                     ที่โดนควบคุมตัวเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมในข้อหาที่มีความข้องเกี่ยวกับกลุ่มติดอาวุธ แต่ใน
               ในการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2548 นักการเมืองกลุ่มวาดะห์ รวมถึง ส.ส. เดิมที่มาจากพรรคประชาธิปัตย์                 ระหว่างควบคุมตัวมีการซ้อมทรมานเกิดขึ้น ภายหลังจากที่กระบวนการในชั้นศาลยุติและพบว่า

               อย่างแพทย์หญิงพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ พ.ต.ท.เจ๊ะอิสมาแอ เจ๊ะโมง และวัยโรจน์ พิพิธภักดี ก็ได้                   หมอแวมาฮาดีไม่ได้มีส่วนเกี่ยวข้อง ส่งผลให้หมอแวมาฮาดีได้รับเลือกตั้ง ส.ว. ใน พ.ศ. 2549
               ลงสมัครในนามพรรคไทยรักไทย แต่ทุกท่านไม่ได้รับชัยชนะในการเลือกตั้งครั้งนี้ ผลการเลือกตั้ง                   ด้วยคะแนนเสียงที่ถล่มทลาย ก่อนที่จะลงสมัครเลือกตั้ง ส.ส. และชนะการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2550
               ในปี พ.ศ.2548 ทำให้พรรคประชาธิปัตย์ได้ไป 10 ที่นั่ง และพรรคชาติไทยอีก 1 ที่นั่ง โดยไม่มี                   กลุ่มสัจจานุภาพก่อตั้งขึ้นบนฐานคิดว่าต้องการใช้พื้นที่ทางการเมืองเพื่อรักษาสิทธิของประชาชน
               กลุ่มวาดะห์เลยหรือตัวแทนจากพรรคไทยรักไทยเลย (ดวงยิหวา อุตรสินธุ์, 2554)                                    และไม่พอใจกลุ่มวาดะห์ที่ไม่สามารถตอบโจทย์การทำงานของนักการเมืองได้ (แวมาฮาดี
                                                                                                                          แวดาโอะ, 2562) อย่างไรก็ดีแม้ว่ากลุ่มสัจจานุภาพจะไม่ค่อยเห็นการดำเนินงานที่ชัดเจนเท่าไหร่นัก
                    อย่างไรก็ตามตัวแทนนักการเมืองท่านหนึ่งมองว่า แม้ว่าจะอยู่ในสภาแล้ว นักการเมือง                        หากแต่เป็นอีกหนึ่งพัฒนาการทางการเมืองที่น่าสนใจ
               ในพื้นที่โดยเฉพาะผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องหรือเป็นญาติพี่น้อง คนใกล้ชิดกับคนที่รัฐเชื่อว่าเป็นสมาชิก
               ของกลุ่มติดอาวุธ ก็อยู่ในสภาวะที่กลืนไม่เข้าคายไม่ออก เนื่องจากกลุ่มนักการเมืองกลุ่มนี้                         และหากพิจารณาดูแล้วจะพบว่านักการเมืองที่อยู่ในตำแหน่งของช่วงเวลาตั้งแต่ พ.ศ. 2548
               กลายเป็นที่ต้องสงสัยจากฝ่ายความมั่นคง ฉะนั้นในบางสถานการณ์จึงมีข้อจำกัดที่ไม่สามารถ                        เป็นต้นมา จะพบว่าโดยส่วนใหญ่เป็นนักการเมืองหน้าใหม่ของพรรคประชาธิปัตย์ที่เพิ่งชนะ
               ทำได้ หลังจากเหตุการณ์ปี 47 นายวันมูหะมัดนอร์ มะทา ถูกย้ายจากกระทรวงมหาดไทยไปสู่                           เลือกตั้งใน พ.ศ. 2548 และได้อยู่ในตำแหน่งต่อไปอีกอย่างน้อยคนละ 2 สมัย นอกเหนือจากนั้น
               รัฐมนตรีกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ซึ่งเป็นผลมาจากความไม่ไว้วางใจที่เกิดขึ้น ว่านักการเมือง                     นักการเมืองหน้าใหม่ยังมาจากคนที่เคยเกี่ยวข้องกับคดีความมั่นคง เช่น กรณีของหมอแวมาฮาดี

               มลายูมุสลิมอาจมีส่วนที่หนุนหลังกลุ่มติดอาวุธ โดยที่หลังจากนั้น ยังมีผู้แทนที่โดนออกหมายจับ                 อดีต ส.ส.จังหวัดนราธิวาส ตลอดจนจะเห็นนักการเมืองที่ได้รับแต่งตั้งให้เป็น ส.ว. ด้วยความเป็น
               1 ท่านในกรณีปล้นปืน คือ คุณนัจมุดดีน อูมา ซึ่งต้องสู้คดี จนศาลยกฟ้องว่าไม่ได้กระทำผิด                      ผู้ทรงคุณวุฒิได้เข้ามาสู่เวทีการเลือกตั้งผู้แทนและชนะการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2550 อย่างบาบอนิ
               และยังมีอีก 2 ท่านที่คาดว่าจะโดนฟ้อง แต่ก็ไม่มีการออกหมายจับแต่อย่างใด นักการเมืองอาวุโส                   มุคตาร์ วาบา ผู้ซึ่งเป็นผู้รู้ทางศาสนาอิสลามที่สำคัญคนหนึ่งในพื้นที่
               ท่านหนึ่งได้ให้ความเห็นว่า
                                                                                                                               ในช่วงเวลาที่เกิดสถานการณ์ความไม่สงบเป็นต้นมา จะเห็นการเกิดขึ้นของพรรคประชาธรรม

                    “นับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2537 กลุ่มวะดะห์สามารถทำให้ผู้หญิงคลุม ิญาบได้ แต่บีอาร์เอ็นมองว่า                 ซึ่งนับได้ว่าเป็นอีกหนึ่งพัฒนาการที่สำคัญของการเมืองในพื้นที่ พรรคนี้ก่อตั้งใน พ.ศ. 2554
               วะดะห์เป็นเครื่องมือของรัฐที่ต้องการขจัดขบวนการต่อสู้ ขณะที่ทหารฝ่ายรัฐไทยก็มองว่า พวกเรา                  จากบุคคลที่เป็นอดีตกลุ่มขบวนการที่ร่วมมือกับองค์กรที่มีความใกล้ชิดรัฐ ทำให้ในที่สุดแม้จะ
               เป็นกลุ่มที่ต้องการเป็นเงื่อนไขของกลุ่มแบ่งแยกดินแดน ทำให้นักการเมืองอยู่ลำบาก”                            ชูประเด็นของอัตลักษณ์ความเป็นมลายูโดยเน้นพื้นที่ฐานเสียงในสามจังหวัดชายแดนใต้ แต่พรรค
                                                                                                                          ประชาธรรมก็ไม่ได้รับเสียงที่มากพอให้เข้าสู่สภา นอกจากนั้นแล้วยังอาจเป็นการแบ่งฐานเสียง
                    นักการเมืองจากกลุ่มวาดะห์ตั้งข้อสังเกตที่น่าสนใจว่า ในแง่หนึ่งเมื่อนักการเมืองมุสลิม
        บทความที่ผ่านการพิจารณา   อูมา, 2554) ก็ทำให้ความชอบธรรมของการใช้อาวุธลดลง ทำให้บางท่านมองว่าการเกิด              การที่นายมุคตาร์ กีละ อดีตเลขาธิการพรรคสันติภาพไทย ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรค แต่ใน
                                                                                                                          ของนักการเมืองสายมลายูนิยมที่มักเลือกนักการเมืองสายวาดะห์ด้วยเช่นกัน พรรคนี้เริ่มต้นด้วย
               ประสบความสำเร็จในทางการเมือง และแก้ไขประเด็นสิทธิหลายๆ อย่างสำหรับมุสลิม (นัจมุดดีน
                                                                                                                          ปลายปีของการเลือกตั้ง พ.ศ. 2554 นายมุคตาร์ กีละ ถูกลอบสังหารเสียชีวิต นายมูฮำมัด หะยี
               เหตุการณ์ในปี พ.ศ. 2547 เป็นช่วงเวลาที่มีมลายูมุสลิมได้เป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
                                                                                                                          แวฮามะ จึงดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคแทน ต่อมาใน พ.ศ. 2556 หัวหน้าพรรคลาออก
               และรองนายกรัฐมนตรี อาจจะเป็นความบังเอิญจนเกินไป หากมองว่าไม่มีความเกี่ยวข้องเชื่อมโยงกัน
                                                                                                                          นายชานนท์ เจะหะมะ ดำรงตำแหน่งหัวหน้าพรรคประชาธรรมแทน และเดือนกุมภาพันธ์
               เพราะว่าหากมุสลิมมีสิทธิมีพื้นที่แล้ว ข้ออ้างของการเรียกร้องสิทธิอาจจะหายไป และอาจไม่
                                                                                                                          พ.ศ. 2557 ได้ส่งตัวแทนลงสมัครสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรอีกครั้ง ก่อนที่การเลือกตั้งในครั้ง
               สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ของการเรียกร้องสู่เอกราชได้อย่างเต็มที่นัก
                                                                                                                          ดังกล่าวจะเป็นโมฆะ (อิมรอน ซาเหาะ, 2558) ขณะที่การเลือกตั้งครั้งล่าสุด พรรคประชาธรรม
   367   368   369   370   371   372   373   374   375   376   377