Page 376 - kpi21190
P. 376
376
จากหลากหลายพรรค แต่พรรคที่ได้เสียงมากที่สุดก็คือ พรรคประชาชาติ ที่ใช้วาทกรรม ไม่สามรถเอาชนะการเลือกตั้งในเขตดังกล่าวได้ แต่ผลการเลือกตั้งใน พ.ศ. 2562 กลับเป็น
“พรรคการเมืองบ้านเรา” รวมถึง “นายกฯ ที่เป็นมุสลิมบ้านเรา” นับได้ว่าสามารถดึงดูดเสียงได้ นักการเมืองมลายูมุสลิมที่สังกัดพรรคพลังประชารัฐเป็นผู้ชนะการเลือกตั้ง ซึ่งแน่นอนว่าเขาได้
ระดับหนึ่ง เพราะในเขตที่พรรคประชาชาติไม่ชนะนั้นก็นับได้ว่ามีคะแนนตามมาเป็นที่สองทุกเขต คะแนนจากคนมลายูมุสลิม โดยเฉพาะผู้คนที่เขาเคยให้ความช่วยเหลือในคดีความมั่นคง จนตัว
บางเขตก็แพ้ด้วยคะแนนหลักร้อยเท่านั้นเอง นอกจากนั้นหากมองไปยังการเลือกตั้งหลังจากเกิด เขาเองเคยถูกขนานนามว่าเป็นทนายของโจรใต้ ทว่าการที่เขาเลือกลงสมัครในนามพรรค
สถานการณ์ความไม่สงบ ซึ่งเปิดช่องให้กับสมาชิกผู้แทนราษฎรหน้าใหม่หลายๆ ท่านได้เข้ามาสู่ พลังประชารัฐก็ทำให้เขาได้คะแนนจากคนพุทธด้วย โดยเฉพาะคนที่เคยเลือกพรรคประชาธิปัตย์
สภาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 ไปกระทั่งเห็นถึงการปรับตัวของกลุ่มนักการเมืองวาดะห์เดิมที่แปรไปสู่ แต่เปลี่ยนมาเลือกพรรคพลังประชารัฐแทน เพราะมองว่าหากจะสู้กับตัวแทนของอดีตนายกทักษิณ
พรรคประชาชาติ หลังจากที่รัฐธรรมนูญเปิดโอกาสให้พรรคเล็กๆ มากขึ้น และสภาวะการเมือง แล้ว พรรคพลังประชารัฐดูเหมือนจะเป็นคู่แข่งได้ดีกว่าพรรคประชาธิปัตย์หรือพรรคอื่นๆ
ที่อยู่ภายใต้ประเด็นที่ยังคงมีประชาชนที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์ ทำให้ประชาชนหันมาสู่ ขณะเดียวกันการที่เขาเลือกสังกัดพรรคพลังประชารัฐ เพราะมองไว้แล้วว่าพรรคพลังประชารัฐ
การเลือกผู้คนที่สามารถแสดงออกถึง “ความเป็นตัวแทน” สำหรับตนได้มากขึ้น มีโอกาสได้จัดตั้งรัฐบาลหลังการเลือกตั้ง และเขาก็ต้องการเข้าสู่อำนาจเพื่อที่จะสามารถช่วยเหลือ
ชาวมลายูมุสลิมได้มากกว่าในอดีตที่เขาช่วยได้แค่เป็นทนายแก้ต่างให้ในศาลเท่านั้นเอง (อาดีลัน
หากมองในมิตินี้ จะพบว่า “อัตลักษณ์” จึงมีความสำคัญสำหรับการเลือกของประชาชน อาลีอิสเฮาะ, 2562)
ในระดับหนึ่ง การเป็นชาวมลายูมุสลิมในมิตินี้จึงนับได้ว่าเป็นโอกาสสำหรับนักการเมืองมลายู
มุสลิมในการก้าวเข้าสู่พื้นที่ทางการเมืองระดับทางการมากขึ้น แม้ว่าภายใต้สถานการณ์ทาง อย่างไรก็ตาม ภายใต้สภาวะทางการเมืองที่เป็นไป ทำให้ความเป็นนักการเมืองมลายูมุสลิม
การเมืองระดับชาติที่ไม่มีความมั่นคง จะส่งผลให้นโยบายหลายๆ ประการที่รับปากไว้กับ ก็มีข้อท้าทายไม่น้อย เมื่อต้องนำเสนอประเด็นที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ให้สังคมไทยโดยรวมเข้าใจ
ประชาชนนั้นอาจมีข้อจำกัดในการประยุกต์ใช้จริง แต่ในช่วงหลังจากที่สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร หลายๆ ครั้งนักการเมืองมลายูมุสลิมเลือกที่จะไม่แสดงความเห็นโดยตรงหากแต่แสดงความเห็น
เข้าสู่ตำแหน่ง จะพบว่ามีความเคลื่อนไหวของนักการเมืองหลายๆ คนที่น่าสนใจ ในการหยิบยก ผ่านการให้เพื่อนนักการเมืองจากพื้นที่อื่นเป็นกระบอกเสียงให้แทน (อันวาร์ สาและ, 2562)
ประเด็นที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่หลากหลายประการ นับตั้งแต่ประเด็นกฎหมายพิเศษ การละเมิดสิทธิ อย่างไรก็ดี เมื่อนักการเมืองมลายูมุสลิมหลายๆ ท่านรวมตัวเป็นกลุ่มวาดะห์หรือกระทั่งปรับตัว
มนุษยชนที่เกิดกับประชาชนในพื้นที่ ไปจนถึงประเด็นเรื่องของการพัฒนาในมิติต่างๆ แม้ว่า กลายเป็นพรรคประชาชาติ และการเลือกตั้งในครั้งนี้ที่ได้มีผู้แทนจากพรรคภูมิใจไทยและพรรค
ในอดีตอาจจะมีการขับเคลื่อนในลักษณะที่คล้ายกัน แต่ปัจจุบันโซเชียลมีเดียช่องทางต่างๆ ทำให้ พลังประชารัฐที่ใช้จังหวะของเหตุการณ์หลายๆ ครั้งในการส่งเสียงเรื่องราวของพื้นที่มากขึ้นแม้ว่า
เรื่องราวของ “ความเป็นผู้แทน” ของคนในพื้นที่ สามารถกระจายและเข้าถึงความรู้สึกของ สำหรับพรรคร่วมรัฐบาลจะมีข้อจำกัดที่หลายครั้งต้องทำตามมติของพรรคก็ตามที แต่อย่างไร
ประชาชนในพื้นที่มากยิ่งขึ้น ก็ตามจะพบผลที่ตามมา เช่น นักการเมืองบางท่านก็ถูกต่อต้านผ่านโซเชียลมีเดีย โดยฝ่ายที่ถูก
มองว่าเป็นไอโอ (IO) หรือปฏิบัติการข่าวสาร (Information Operation) และหลายๆ ประเด็น
การเลือกตั้งในปี พ.ศ. 2562 ที่ผ่านมานี้ ไม่อาจสรุปอย่างหยาบได้ว่าประชาชนเลือก การถูกละเมิดสิทธิของประชาชนในพื้นที่ที่ถูกหยิบยกโดยสมาชิกผู้แทนราษฎรหลายท่านก็มิอาจ
ตัวแทนของเขาที่ตัวบุคคลหรือเลือกพรรคการเมือง แม้ว่าการเลือกตั้งในรอบหลายสิบปีที่ผ่านมามี ถูกแก้ไขได้ เป็นต้น
นักวิชาการรัฐศาสตร์สรุปว่าประชาชนในจังหวัดชายแดนใต้เลือกที่ตัวบุคคลไม่ได้เลือกที่
พรรคการเมือง จนเห็นภาพของนักการเมืองมลายูมุสลิมย้ายพรรคการเมืองอยู่เสมอ (บูฆอรี นอกเหนือไปจากนั้นแล้วการเป็นนักการเมืองมลายูมุสลิมยังมีข้อท้าทายและข้อจำกัดในแง่
ยีหมะ, 2562) ทว่าการเลือกตั้งในครั้งที่ผ่านมานี้ปรากฏว่าอดีต ส.ส. ทั้งหมดที่ย้ายจากพรรค ของโอกาสของคนกลุ่มใหม่ในการเข้าถึงพื้นที่นี้ของบางเขตเลือกตั้ง สำหรับบางเขตผู้มีอิทธิพลและ
ประชาธิปัตย์ไปสังกัดพรรครวมพลังประชาชาติไทยล้วนแล้วแต่สอบตกทั้งสิ้น และอดีต ส.ส. ที่ยัง มีเครือข่ายกว้างขวางยังคงเป็นตัวเลือกของพรรคการเมืองไม่ว่าจะเป็นพรรคใหญ่ระดับหลายๆ
คงอยู่พรรคประชาธิปัตย์เอาชนะได้แค่เขตเดียว คนที่เหลือก็สอบตกทั้งสิ้นเช่นเดียวกัน พรรค หรือที่มีอุดมการณ์นำหรือมีอัตลักษณ์มลายูมุสลิมชัดเจนก็ตาม โดยนักการเมืองบางท่าน
ขณะเดียวกันจะสรุปว่าประชาชนเลือกพรรคก็คงจะไม่ได้เช่นกัน เพราะมีพรรคการเมืองถึง ให้ความเห็นว่า เขาไม่ได้สนใจประเด็นความเป็นมลายูมุสลิม แต่สนใจในเรื่องของการพัฒนาพื้นที่
บ้านเกิด และต้องได้รับการยอมรับจากคนทั่วไป อย่างกรณี จังหวัดอุทัยธานีที่มีมุสลิมชนะ
4 พรรคที่มีผู้สมัครชนะการเลือกตั้ง แต่ข้อบ่งชี้อย่างหนึ่งก็คือ พรรคประชาชาติได้คะแนนในพื้นที่
บทความที่ผ่านการพิจารณา ก็สามารถคว้าอันดับที่ 2 มาทั้ง 5 เขตที่เหลือ และหลายเขตที่ชนะก็ได้คะแนนมากกว่าที่ผู้สมัคร ส.ส. ชายแดนใต้ควรกระทำ (สัมพันธ์ มะยูโซะ, 2562)
ชายแดนใต้ได้มาเป็นอันดับที่ 1 และมีผู้สมัครชนะมากที่สุดถึง 6 เขตเลือกตั้ง โดยเขตที่ไม่ชนะ
การเลือกตั้งทุกเขต แสดงว่าได้รับความยอมรับจากคนทั่วไปในจังหวัดนั้น ซึ่งเขามองว่าเป็นสิ่งที่
เคยได้รับในช่วงการเลือกตั้งก่อนหน้านี้ จึงสรุปได้บางส่วนว่าคะแนนที่ได้มาจากพรรคด้วย ซึ่งดังที่
ขณะเดียวกันความเป็นผู้หญิงก็เป็นสิ่งที่ท้าทายไม่น้อยสำหรับพื้นที่ชายแดนใต้ เพราะตั้งแต่
กล่าวมาแล้วข้างต้นว่าเพราะพรรคชูความเป็นมลายูมุสลิมจึงทำให้ได้คะแนนจากประชาชนในพื้นที่
อดีตจนถึงปัจจุบัน มี ส.ส. ผู้หญิงที่ได้รับการเลือกตั้งเพียง 2 ท่านเท่านั้น คือ แพทย์หญิง
ข้อสังเกตที่น่าสนใจในประเด็นนี้คือ แม้ว่าพรรคประชาชาติจะส่งคนพุทธลงสมัครในเขตที่มี
คนพุทธได้เป็น ส.ส. มาตลอดหลายสมัยที่ผ่านมา ก็ปรากฏว่าผู้สมัครของพรรคประชาชาติ พรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ และแพทย์หญิงเพชรดาว โต๊ะมีนา ซึ่งใน 2 ท่าน มีเพียงท่านเดียวที่ชนะ
การเลือกตั้งแบบแบ่งเขต ส่วนอีกท่านได้ ส.ส. แบบบัญชีรายชื่อ หนึ่งในปัจจัยที่ส่งผลต่อประเด็นนี้