Page 367 - kpi20858
P. 367
325
รูปทรง
ที่มาภาพ: สมภพ ภิรมย์, สมุดภาพ เทพ มนุษย์ ยักษ์ ลิง (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2525),108-109.
การวิเคราะห์
ผลงานลายเส้นแสดงแบบตัวอย่าง ศักดิ์ของยักษ์ในเรื่องรามเกียรติ์ โดยสามารถเรียงล าดับการอธิบายภาพ
ซึ่งเรียงจากด้านขวาไปซ้าย ดังนี้ 1. แสดงหุ่นของภาพ 2. แสดงศักดิ์เหล่าอ ามาตย์ 3. แสดงศักดิ์เหล่าเสนา 4.
แสดงศักดิ์เหล่าพลชั้นดี 5. แสดงศักดิ์เหล่าพลชั้นเลว จิตรกรค านึงถึงความงามของสัดส่วน และแสดง
กล้ามเนื้อของมนุษย์อย่างสมจริง แสดงให้เห็นถึงการผสมผสานหลักกายวิภาคแบบตะวันตก เข้ากับการจัด
ท่าทางการก้าวเดินแบบอุดมคติของไทย ก่อให้เกิดลีลาและความเคลื่อนไหวอันงดงาม โดยมีเพียงใบหน้า
เท่านั้นที่ยังคงลักษณะของยักษ์ในงานจิตรกรรมตามขนบนิยมของไทย
มุมมองและระยะ การวิเคราะห์
หนุมานเกี้ยวนางเบญกาย มีการแสดง
ระยะด้วยการซ้อนทับกันของรูปทรง
นอกจากนี้สามารถสังเกตเห็นการสร้าง
ระยะด้วยการแสดงค่าน ้าหนักของเส้นที่
มีความเข้มของสีลดหลั่นลงเมื่ออยู่ใน
ระยะไกล ดังเช่นฉากทัศนียภาพที่
ด้านหลังของหนุมาน ที่จิตรกรเขียนด้วย
เส้นน ้าหนักบางเบา และมิได้ให้ความ
ส าคัญหรือเก็บรายละเอียดเท่ากับ
ที่มาภาพ: สมภพ ภิรมย์, สมุดภาพ เทพ มนุษย์ ยักษ์ ลิง (กรุงเทพฯ: รูปทรงในระยะหน้า
โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2525),85.