Page 366 - kpi20858
P. 366

324





                       เรื่อง รามเกียรติ์ ที่พระระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดาราม กรุงเทพมหานคร ตลอดจนเป็นผู้เขียนสมุด
                       ภาพ “เทพ มนุษย์ ยักษ์ ลิง”


                              ผลงานสมุดภาพ “เทพ มนุษย์ ยักษ์ ลิง” ของพระเทวาภินิมมิต เขียนขึ้นเมื่อปี พ.ศ.2472

                       ประกอบด้วยภาพร่างลายเส้น แสดงรูปทรงของตัวละครส าคัญหลายหมวดด้วยกัน ทั้ง เทพ มนุษย์
                       ยักษ์  ลิง  โดยภาพร่างลายเส้นทั้งหมดสันนิษฐานว่ามีวัตถุประสงค์เพื่อน าไปใช้เป็นต้นแบบในการ

                       เขียนภาพที่พระระเบียงวัดพระศรีรัตนศาสดาราม  ซึ่งล้วนแสดงให้เห็นถึงการเป็นแบบอย่าง  ทั้ง

                       รูปทรง ลักษณะ สีกาย และเครื่องแต่งกาย อย่างไรก็ตาม การศึกษาในครั้งนี้จะท าการหยิบยกภาพ

                       ตัวอย่างบางภาพมาศึกษาวิเคราะห์  ซึ่งผู้วิจัยเห็นว่าสามารถเป็นตัวแทนของผลงานลายเส้นทั้งหมด
                       ของพระเทวาภินิมมิตได้



                              4.1.2.3.2.2 รูปแบบ
                              รูปแบบในผลงานของพระเทวาภินิมมิต  ล้วนแสดงให้เห็นถึงความใฝ่ใจในการผสมผสาน

                       หลักความงามของสองวัฒนธรรมเข้าด้วยกัน ได้แก่ งานจิตรกรรมตามขนบของไทย กับหลักวิทยาการ

                       ของศิลปะตะวันตก โดยสามารถวิเคราะห์ถึงวิธีการน าเสนอรูปแบบดังกล่าว ได้ดังนี้


                                                    สมุดภาพ “เทพ มนุษย์ ยักษ์ ลิง”

                                          รูปทรง                                 การวิเคราะห์



                                                                    รูปลายเส้นแสดงใบหน้าของตัวพระ และตัวนาง

                                                                    วาดเป็นรูปพระพัตร์ของพระอิศวร และพระอุมา
                                                                    จากภาพสามารถพบเห็นการผสานกันระหว่าง
                                                                    รูปแบบจิตรกรรมตามขนบนิยมของไทย กับหลัก

                                                                    กายวิภาคแบบตะวันตก กล่าวคือ ทั้งสองพระองค์
                                                                    ยังคงมีเครื่องทรงแบบดั้งเดิม รูปทรงดังกล่าวถูก

                                                                    สร้างขึ้นจากการประกอบกันของเส้นสายอันอ่อน
                                                                    ช้อย กรอบพระพักตร์ และพระขนงงดงามอวบอิ่ม
                                                                    ทว่าที่บริเวณพระเนตรพระนาสิก พระโอษฐ์ พระ

                                                                    กรรณมีลักษณะคเหมือนจริงมากยิ่งขึ้น มิได้เป็น

                                                                    ลายเส้นที่เกิดจากการประดิษฐ์จินตนาการขึ้นดัง
                        ที่มาภาพ: สมภพ ภิรมย์, สมุดภาพ เทพ มนุษย์ ยักษ์ ลิง  แต่ก่อน
                        (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, 2525), 15.
   361   362   363   364   365   366   367   368   369   370   371