Page 230 - kpi20858
P. 230

187






                       กฤดากร และกรณีที่สองคือ มีการส่งต้นแบบซึ่งเป็นฝีมือการปั้นของศาสตราจารย์ คอร์ราโด เฟโรจี ที่
                       พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเคยมีพระบรมราชวินิจฉัยให้ปรับแก้ไปยังโรงกษาปณ์กรุงปารีส พร้อมทั้ง

                       ส่งพระบรมรูปฉายา  ซึ่งนายเฟโรจีเคยปั้นจากพระองค์ด้วยอีกรูปหนึ่ง  แล้วให้  มองสิเออ  เอากุสต์

                       บาเตย์  เป็นผู้แก้ไข  อย่างไรก็ตามไม่ว่าผู้ใดจะเป็นผู้ปรับแก้  แต่เอกสารวิชาการต่างให้ข้อสรุปที่

                       ตรงกันว่า เหรียญที่ระลึกดังกล่าวได้รับการปั้นโดยศาสตราจารย์คอร์ราโด เฟโรจี

                            เมื่อกล่าวถึงการหล่อเหรียญที่ระลึกเฉลิมพระนคร  150  ปี  นั้น  พระเจ้าบรมวงศ์เธอ  เจ้าฟ้า

                       กรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ทรงด าริว่า

                                  ในการท าเหรียญนี้ เปนทางที่น่าจะค านึงว่า ควรจะท าที่ไหนโรงกระษาปน์ของเราท า

                            หาค่อยจะได้ดีเท่าที่ท าในเมืองฝรั่งไม่  เพราะเหตุอะไรจะว่าไปก็เกรงจะผิด  แต่เท่าที่เห็นได้

                            นั้น  แม่พิมพ์ซึ่งเอาเข้าเครื่องจักรแกะออกมานั้นไม่เกลี้ยง  เป็นริ้วรอยเหล็กเครื่องแกะเดิร
                            ต้องแทงตะไบแก้ให้เกลี้ยง นั่นเองท าให้เสียรูป ได้ส่งเหรียญสตพรรษมาลา กับเหรียญราชรุจิ

                            รัชชกาลนี้มาเป็นตัวอย่าง    ส าหรับพิจารณาเทียบเคียงกัน  เหรียญประภาศมาลานั้น  ได้
                            ทราบว่าท าที่โรงกระษาปน์เมืองฝรั่งเศส ถ้าหากจะให้ได้ของดีก็ควรที่จะส่งไปท ายุโรป ถ้าจะ

                                               350
                            เอาชื่อว่าท าเองก็ท าที่นี่
                            สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์  ทรงพระด าริว่า การท าเหรียญ

                       ในเมืองไทยนั้นยังไม่มีอุปกรณ์และกรรมวิธีที่ไม่ดีพอ อีกทั้งยังมีราคาการผลิตที่สูง เห็นควรสั่งไปท า

                       ที่ต่างประเทศ  จากนั้นพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงมีพระราชด ารัสตอบกลับในเรื่อง

                       การท าเหรียญที่ระลึกนี้  ความว่า  “โดยเหตุที่การท าเหรียญนี้จะท าครั้งเดียว  และยังมีเวลาอีกมาก
                       จึ่งทรงพระราชด าริเห็นพ้องด้วย พระด าริว่า ควรส่งไปท าที่ยุโรป และให้สั่งท า ๒ อย่าง เป็นเหรียญ

                       เงินล้วนอย่าง๑ เหรียญเงินกาไหล่ ทองอย่าง ๑ จะเป็นจ านวนเท่าไร ยังรับพระราชทานสอบสวน
                                                   351
                       อยู่.”   ภายหลังเมื่อสอบการผลิตเหรียญ  ได้ผลตามรายงานจากกรมราชเลขานุการว่า  ...รายงาน
                           352
                       การสอบสวนเรื่องสร้างเหรียญที่ระลึกเมื่อคราว  งานพระราชพิธีบรมราชาภิเษกรัชชกาลปัจจุบัน  ว่า

                                                                                               353
                       ได้สร้างเหรียญเงิน ๒๐,๐๐๐ เหรียญ กาไหล่ทอง ๑,๐๐๐ เหรียญทองแดงรม ๑,๕๐๐...

                           350   เรื่องเดียวกัน.

                           351  กะไหล่ หมายถึง วิธีการแบบหนึ่งในการเคลือบสิ่งที่เป็นโลหะด้วยเงินหรือทอง อ้างจาก พิพิธภัณฑ์เหรียญที่ระลึก
                       ไทย,เหรียญพระสตพรรษมาลา, เข้าถึงเมื่อ 15 กรกฎาคม 2562, เข้าถึงได้จาก http://www.thaimedal.com/web/2424
                       _2.php

                           352  “การท าเหรียญที่ระลึกส าหรับพระราชทานในงานเฉลิมฉลองสมโภชพระนครครบ 150 ปี,”เอกสารจดหมายลาย
                       ลักษณ์, กรมศิลปากร,  (4)ศธ 2.1.2.1/76, หอจดหมายเหตุแห่งชาติ.
                           353  เรื่องเดียวกัน.
   225   226   227   228   229   230   231   232   233   234   235