Page 216 - kpi20858
P. 216

173






                            สมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว พระองค์ทรงมีคุณูปการแก่พระบรมวงศานุวงค์ กับทั้งข้าทูล
                            ลอองธุลีพระบาทมาเป็นเอนกประการ  คงจะมีหลายพระองค์หลายท่านที่มีจิตร์รลึกถึงพระ

                            เดชพระคุณ  และจะใคร่ได้พระบรมรูปไปไว้ยังส านักเป็นที่เคารพสักการบูชา  ความปรารถนา
                            เช่นนี้ราชบัณฑิตยสภาเห็นว่า  จะช่วยได้ด้วยถ่ายหุ่นพระบรมรูปหล่อขึ้นด้วยทองสัมฤต

                            (บรอนซ์) เพียงจ าเพาะพระเศียร จะมีขนาดสูงเพียง ๓๖.๕๐ เซ็นติเมตร์ และราคานั้นถ้าท า
                            มากตั้ง ๕๐ แล้วคงตกอยู่ในพระบรมรูปละ ๓๐๐ บาท ถ้ากรมกองใดมีความประสงค์จะได้

                                                                   320
                            พระบรมรูปไว้ขอให้แจ้งความประสงค์ให้ทราบ...



























                       ภาพที่ 14  รูปถ่ายเฉพาะพระเศียร เนื่องในการสร้างพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

                       ที่มาภาพ: หอจดหมายเหตุแห่งชาติ


                            การหล่อพระเศียรของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวครั้งนี้  นอกจากมีวัตถุประสงค์
                       เพื่อเป็นที่ระลึกในพระเดชพระคุณของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว  ที่มีต่อไพร่ฟ้า

                       ประชาราษฎร์แล้วนั้น ยังถือเป็นการบ ารุงกิจการของราชบัณฑิตยสภา แผนกศิลปากรสถาน โดยได้

                       คิดอ่านเรื่องกรรมวิธีการผลิต และค านวณค่าใช้จ่ายที่ต้องลงทุน ตลอดจนรายรับ และแนวทางการ

                       น าเงินไปใช้ประโยชน์ ดังปรากฏในเอกสาร ดังนี้

                                 ศิลปากรสถานคิดจะหล่อจ าแนกให้แก่ผู้ซึ่งมีปรารถนาจะใคร่ได้ไปปฏิบัติบูชา  เปนที่

                            ระลึกถึงพระเดชพระคุณนั้น เดิมกะประมาณราคาไว้  ๓๐๐ บาท เมื่อได้ประกาศแจ้งความ
                            แล้วมีผู้ปรารถนาจะใคร่ได้  บอกแจ้งความไปยังศิลปากรสถานเปนอันมาก  จึงเห็นว่าจะท า



                           320   “การหล่อพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัวให้แก่ผู้ที่ต้องการ,”  เอกสารจดหมายเลตุลาย
                       ลักษณ์, กรมศิลปากร, (4)ศธ2.1.2.1/27, หอจดหมายเหตุแห่งชาติ.
   211   212   213   214   215   216   217   218   219   220   221