Page 328 - kpi20767
P. 328
303
6. ผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเชิงเส้นตรงระหว่างปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ
ด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้
หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ
จากผลการวิเคราะห์ข้อมูลการถดถอยพหุคูณเชิงเส้นตรงระหว่างปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ
การด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้
หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ สามารถสรุปได้ดังนี้
6.1 ผลการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณเชิงเส้นตรงระหว่างปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ
ด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลัก
ธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐซึ่งเป็นส่วนราชการระดับกรมหรือเทียบเท่าที่มีค่าคะแนนคุณธรรม
และความโปร่งใสในการด าเนินงานในปี 2560 ที่ไม่ผ่านเกณฑ์ สามารถสรุปได้ดังนี้
6.1.1 ปัจจัยที่น ามาศึกษาทั้ง 12 ตัวแปร มีความสัมพันธ์พหุคูณกับการด าเนินงาน
ตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาล
ขององค์การภาครัฐ โดยรวม เท่ากับ .86 (R = .86) แสดงว่าตัวแปรอิสระทั้ง 12 ตัวแปรรวมกันมี
ความสัมพันธ์กับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร
จัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ โดยรวม อย่างมีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01
โดยมีค่าความสัมพันธ์อยู่ในระดับสูงมาก คือร้อยละ 86.00
6.1.2 ปัจจัยที่น ามาศึกษาวิจัยทั้ง 12 ตัวแปรมีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงหรือการ
ผันแปรกับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหาร
2
จัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ โดยรวม เท่ากับ .74 (R = .74) แสดงว่าตัวแปร
อิสระทั้ง 12 ตัวแปร สามารถอธิบายการผันแปรหรือการเปลี่ยนแปลงการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์
ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การ
ภาครัฐ โดยรวม ได้อย่างถูกต้องร้อยละ 74.00
6.1.3 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุล
และพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์การภาครัฐ โดยรวม อย่างมี
นัยส าคัญที่ระดับ .01 มีจ านวน 3 ปัจจัย สอดคล้องกับสมมติฐานของการวิจัยที่ตั้งไว้ ซึ่งสามารถ
เรียงล าดับจากตัวแปรที่มีอิทธิพลต่อการผันแปรในตัวแปรตามในแบบคะแนนมาตรฐานมากที่สุดไปหา
น้อย ดังนี้
1) ปัจจัยด้านผู้น า (X Beta = .32)
12
2) ปัจจัยด้านค่านิยม/วัฒนธรรม (X Beta = .27)
11
3) ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมภายนอก (X Beta = .17)
7
โดยผลการวิจัยพบว่า ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงหรือการผันแปรกับการ
ด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลัก