Page 122 - kpi20767
P. 122
97
สมการพยากรณ์ โดยหากตัวแปร ≥2 ตัว มีภาวะ Multi-Collinearity ที่เท่ากัน (มีค่า VIF เท่ากัน) ให้
พิจารณาตัดตัวแปรที่มีค่า Standard Error หรือ S.E. มากที่สุดออกก่อน และเหลือตัวแปรที่มีค่า S.E.
น้อยที่สุดไว้ในสมการ
3.10) การทดสอบข้อตกลงเบื้องต้นเกี่ยวกับค่าความคลาดเคลื่อน มีสถิติที่ใช้ในการ
วิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ Residual Statictic โดยหากผลการทดสอบพบว่า ค่าเฉลี่ยของค่า Residual
Statictic มีค่าเท่ากับ 0.00 จะเป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้นของการใช้สถิติเกี่ยวกับค่าความ
คลาดเคลื่อน
3.11) การทดสอบข้อตกลงเบื้องต้นเกี่ยวกับความเป็นอิสระของค่าความคลาดเคลื่อน
(ภาวะ Auto Correlation) มีสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่า Durbin-Watson โดยหากค่า
Durbin-Watson ใน Model Summary ที่ได้รับจากการวิเคราะห์ข้อมูล มีค่ามากกว่า 0.95 และ/
หรือเข้าใกล้ 2.00 จะแปลผลได้ว่า ค่าความคลาดเคลื่อนมีความเป็นอิสระ และไม่มีภาวะ Auto
Correlation ซึ่งจะเป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้นของการใช้สถิติเกี่ยวกับความเป็นอิสระของค่าความ
คลาดเคลื่อน (ภาวะ Auto Correlation)
3.12) การทดสอบข้อตกลงเบื้องต้นเกี่ยวกับความคงที่ของความแปรปรวนของค่า
ความคลาดเคลื่อน (e) มีสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ Modified Levene’s Test โดยหากผล
การทดสอบพบว่า ระดับนัยส าคัญทางสถิติของค่า Modified Levene’s Test มีค่ามากกว่านัยส าคัญ
ทางสถิติที่ก าหนดไว้ (α > 0.05) จะแปลผลได้ว่า ความแปรปรวนของความคลาดเคลื่อนมีความคงที่
ในทุกค่าการสังเกต ซึ่งจะเป็นไปตามข้อตกลงเบื้องต้นของการใช้สถิติเกี่ยวกับความคงที่ของความ
แปรปรวนของค่าความคลาดเคลื่อน (e)
3.13) การทดสอบข้อตกลงเบื้องต้นเกี่ยวกับความเหมาะสมของสมการถดถอย มีสถิติ
ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ Lack of Fit Test; Pure Error โดยหากผลการทดสอบพบว่า ระดับ
นัยส าคัญทางสถิติของค่า Lack of Fit Test; Pure Error มีค่ามากกว่านัยส าคัญทางสถิติที่ก าหนดไว้
(α > 0.05) จะแปลผลได้ว่า สมการถดถอยที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ มีความเหมาะสม ซึ่งจะเป็นไปตาม
ข้อตกลงเบื้องต้นของการใช้สถิติเกี่ยวกับความเหมาะสมของสมการถดถอย
4) การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อเปรียบเทียบระดับการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติในด้าน
การปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาล จ าแนกตามปัจจัยส่วน
บุคคลของกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย มีสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ การวิเคราะห์ความ
แปรปรวนพหุคูณแบบทางเดียว ชนิดไม่มีตัวแปรร่วม (One-way Mutivariate Analysis Of
Variances; MANOVA)
5) การวิเคราะห์ข้อมูลเพื่ออธิบายถึงปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการด าเนินงานตามยุทธศาสตร์
ชาติในด้านการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริหารจัดการภายใต้หลักธรรมาภิบาลขององค์กร