Page 121 - kpi20767
P. 121

96


                       Product Moment Correlation / R -Zero order) ซึ่งผู้วิจัยจะท าการทดสอบและพิจารณาค่า

                       ระดับความสัมพันธ์ที่เกิดขึ้น โดยน าไปเปรียบเทียบกับเกณฑ์ความสอดคล้องกับข้อตกลงเบื้องต้นซึ่งได้

                       ก าหนดไว้ว่า ตัวแปรอิสระและตัวแปรตามจะต้องมีค่าระดับความสัมพันธ์กัน (R -Zero order) ตั้งแต่
                       0.20/(-20) ขึ้นไป (R  ≥ 0.20) จึงจะสอดคล้องกับข้อตกลงเบื้องต้นของการวิเคราะห์การถดถอย
                                        x - y
                       พหุคูณเชิงเส้นตรงเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม ทั้งนี้ เกณฑ์ในการบอก

                       ระดับหรือขนาดของความสัมพันธ์แบบ Pearson หรือ R -Zero order นั้น ดังแสดงในตารางที่ 3.7
                       ดังนี้การวิเคราะห์ข้อตกลงเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม (Rx - y)



                       ตำรำงที่ 3.7 แสดงค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบ Pearson (Pearson’s  Correlation)
                                   ค่ำสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์                  ระดับควำมสัมพันธ์

                                     (-) 1.00 -  (-) 0.81              สูงมาก (เกิดภาวะ Multi–Collinearity)
                                     (-) 0.61 -  (-) 0.80                           สูง
                                     (-) 0.41 -  (-) 0.60                        ปานกลาง

                                     (-) 0.21 -  (-) 0.40                           ต่ า
                                     (-) 0.11 -  (-) 0.20                         ต่ ามาก
                                       > 0.20 - 0.00                   ไม่มีความสัมพันธ์ (ไม่ควรน าเข้าสมการ)

                                        0.11 - 0.20                               ต่ ามาก
                                        0.21 - 0.40                                 ต่ า
                                        0.41 - 0.60                              ปานกลาง

                                        0.61 - 0.80                                 สูง
                                        0.81 - 1.00                    สูงมาก (เกิดภาวะ Multi–Collinearity)

                       ที่มำ: Devore and Berk, 2012.

                                  3.9) การทดสอบข้อตกลงเบื้องต้นเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระด้วย

                       กันเอง เพื่อตรวจสอบภาวะ Multi-Collinearity หรือภาวะที่ตัวแปรอิสระด้วยกันเองมีความสัมพันธ์

                       กันเองที่สูงเกินไปจนคาดว่าตัวแปรอิสระดังกล่าวจะเป็นตัวแปรเดียวกันกับตัวแปรอิสระอื่นๆที่ใช้การ
                       วิจัย โดยมีสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่ Tolerance และ Variance of Inflation หรือ VIF ซึ่งผู้วิจัย

                       จะท าการพิจารณาค่า Tolerance ประกอบกับค่า Variance of Inflation หรือ VIF และน าไป

                       เปรียบเทียบกับเกณฑ์ความสอดคล้องกับข้อตกลงเบื้องต้นซึ่งได้ก าหนดไว้ว่าค่า Tolerance จะ
                       แปรผกผันกับค่า VIF เสมอ ซึ่งค่า Tolerance จะมีค่าตั้งแต่ 0 - 1 โดยหากค่า Tolerance เข้าใกล้ 1

                       แสดงว่าตัวแปรเป็นอิสระจากกัน แต่หากเข้าใกล้ 0 แสดงว่าเกิดภาวะ Multi-Collinearity ในขณะที่

                       ค่า VIF จะต้องน้อยกว่า 10 (VIF < 10) ทั้งนี้ หากพบว่ามีตัวแปรอิสระตัวใดที่มีค่า VIF ≥ 10 ให้ถือว่า
                       ตัวแปรอิสระนั้นเกิดภาวะ Multi-Collinearity ซึ่งจะต้องด าเนินการตัดตัวแปรอิสระนั้นออกจาก
   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125   126