Page 113 - kpi20767
P. 113

88


                                  ทั้งนี้ ผู้วิจัยสามารถสรุปลักษณะโดยทั่วไปของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณได้

                       ดังตารางที่ 3.4 ดังนี้


                       ตำรำงที่ 3.4 แสดงการสรุปลักษณะโดยทั่วไปของเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเชิงปริมาณ

                          ชื่อเรียกของเครื่องมือ   ความท้าทายในประเด็นธรรมาภิบาลกับการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ชาติ

                             ข้อมูลตอนที่             ประเภท/ลักษณะเครื่องมือ      จ ำนวน    ที่มำข้อค ำถำม
                      1 ข้อมูลทั่วไปกลุ่มตัวอย่าง    แบบเลือกตอบรายการ (Check List)   รวม 4    งานวิจัยที่

                                                 ค าถามแบบปลายเปิด (Opened Ended)   ข้อค าถาม  เกี่ยวข้อง
                      2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการ   แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ   รวม 55    นิยามศัพท์เฉพาะ
                      ด าเนินงานตามยุทธศาสตร์ชาติ  (5-Rating Scale Questionnaire)   ข้อค าถาม

                      3 การด าเนินงานตามยุทธ    แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ      รวม 68    นิยามศัพท์เฉพาะ
                      ศาสตร์ชาติ ของหน่วยงาน    (5-Rating Scale Questionnaire)     ข้อค าถาม

                      4 ข้อเสนอแนะการพัฒนาฯ     ค าถามแบบปลายเปิด                  รวม 1
                                                                                             -
                                                (Opened Ended Questionnaire)       ข้อค าถาม


                                  3.2.3.2 การหาคุณภาพของเครื่องมือการวิจัยเชิงปริมาณ
                                  ในการหาคุณภาพของเครื่องมือการวิจัยเชิงปริมาณนี้ สามารถแบ่งได้ 2 ขั้นตอน ดังนี้

                                    ขั้นตอนที่ 1 การประเมินความสอดคล้องของรายการค าถาม

                                      การหาคุณภาพของเครื่องมือการวิจัยเชิงปริมาณ โดยการประเมินความ
                       สอดคล้องของรายการค าถามกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย ด้วยวิธีการหาค่าความตรงเชิงเนื้อหา (IOC:

                       Index of Item Objective Congruence) โดยการให้ผู้เชี่ยวชาญ จ านวน 5 คน ท าการตรวจสอบ

                       ความสอดคล้องของรายการค าถามกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย โดยมีขั้นตอนในการด าเนินการดังนี้
                                      1) ผู้วิจัยท าการก าหนดเกณฑ์ในการตรวจพิจารณาสอดคล้องของรายการ

                       ค าถามกับวัตถุประสงค์ของการวิจัย ดังตารางที่ 3.5 ดังนี้


                       ตำรำงที่ 3.5 แสดงเกณฑ์ให้คะแนนดัชนีความสอดคล้อง (Item index of congruence; IOC)

                         คะแนน                         เกณฑ์ในกำรให้คะแนนของผู้เชี่ยวชำญ
                           +1    ให้เมื่อแน่ใจว่ารายการที่สอบถามสอดคล้องหรือตรงกับประเด็นที่ศึกษาวิจัย

                           0     ให้เมื่อไม่แน่ใจว่ารายการที่สอบถามสอดคล้องหรือตรงกับประเด็นที่ศึกษาวิจัยหรือไม่
                           -1    ให้เมื่อแน่ใจว่ารายการที่สอบถามไม่สอดคล้องหรือไม่ตรงกับประเด็นที่ศึกษาวิจัย


                                       2) จากนั้นผู้วิจัยท าการค านวณเพื่อหาค่าดัชนีความสอดคล้องของความตรงเชิง

                       เนื้อหา เชิงภาษา และเชิงสถิติ (Index of Item - Objective Congruence; IOC) ซึ่งเป็นการ
                       ค านวณหาค่าเฉลี่ยของค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) จากค่าคะแนนที่ได้รับจากการพิจารณาความ
   108   109   110   111   112   113   114   115   116   117   118