Page 278 - kpi20761
P. 278
การพัฒนาและปรับปรุงบทบัญญัติกฎหมายแรงงานไทยให้สอดคล้องกับหลักการสากลและแนวทางปฏิรูปประเทศ 277
อีกตัวหนึ่งก็คือ สวัสดิการ ข้อบังคับ จะเกี่ยวกับ มีอยู่มาตราหนึ่งว่า
ไม่อยู่ภายใต้กฎหมายคุ้มครองแรงงานหรือแรงงานสัมพันธ์ แต่กฎหมาย
ล่าสุดมันจะแก้ว่าต้องได้มาตรฐานไม่ต่�ากว่ากฎหมายคุ้มครองแรงงาน
และก็แก้ไขล่าสุดก็คือ พนักงานพวกนี้มีสิทธิในการรวมตัวจัดตั้ง ทีนี้ค�าว่า
ภายใต้กฎหมายคุ้มครองแรงงานจะต้องเข้าใจธรรมชาติของกฎหมาย
คุ้มครองแรงงานว่าอะไรคือมาตรฐานขั้นต่�าตามกฎหมายคุ้มครองแรงงาน
ซึ่งค่าชดเชยมันไม่ใช่ บางหน่วยก็จะเขียนเอาค่าชดเชยเวลาเกษียณอายุ
ทั้งที่องค์กรมหาชนส่วนใหญ่นั้นเป็นองค์กรที่บริการสาธารณะ ตัวหารายได้
ไม่ค่อยมี แล้งองค์กรมหาชนมันจะมีอยู่ ๓ กลุ่ม กลุ่มที่มันหารายได้มันก็
ดี ส่วนกลุ่มที่อยู่ตรงกลางก็พอได้ แต่กลุ่มที่เป็นการศึกษาหรือวัฒนธรรม
ก็จะต้องไปเสียค่าชดเชย ๔๐๐ วันเมื่อเกษียณอายุอีกทั้งๆ ที่มีหลักประกัน
คือ กองทุนส�ารองเลี้ยงชีพอยู่แล้ว คือ กฎหมายบอกว่าต้อมีมาตรฐาน
ขั้นต่�าไม่ต่�ากว่ากฎหมายแรงงาน โจทย์ก็คือว่าอะไรคือมาตรฐานขั้นต่�า
ค�าตอบก็คือเกี่ยวกับวันลา วันหยุด เป็นต้น มันไม่รวมค่าชดเชย แต่
บ้านเราค่าชดเชยคือมาตรฐานขั้นต่�าซึ่งในยุโรปในต่างประเทศมันไม่มี
มีแค่บ้านเรา มาเลเซีย กับฟิลิปปินส์ ซึ่งตรงนี้ท�าให้ต้นทุนสูงนายจ้าง
ก็เลยไปกดค่าจ้างแทน มันจะเกิดความลักลั่นในกลุ่มรัฐวิสาหกิจหรือ
องค์การมหาชนเพราะเงินในกองทุนส�ารองเลี้ยงชีพมันสูงมาก”
ผศ.ดร.ศุภศิษฏ์ฯ : “อย่างข้าราชการนี้ยังเป็นสมาคมอยู่เหมือนเดิมหรือไม่”
นายณรงค์ฤทธิ์ฯ : “มีพรฎ. ร่างเสร็จแล้ว แต่ยังไม่ประกาศใช้เพราะ
เกิดปฏิวัติ พรฎ. รวมกลุ่ม แต่ไม่มีอ�านาจเจรจาต่อรอง เป็นการรวมเพื่อ
ปกป้องผลประโยชน์แต่จะไปเรียกร้องเอาเงินเพิ่มไม่ได้”
นายณรงค์ฤทธิ์ฯ : “อย่างค�าที่อาจารย์เขียนมาในข้อ ๔ ความเข้าใจ
ของผมมันก็มีกลไกอยู่เพียงแต่ว่าเวลาที่ไปบังคับใช้ มันจะมีปัญหา การใช้
inside_ThLabourLaw_c3-5.indd 277 13/2/2562 16:37:51