Page 99 - kpi20366
P. 99
ภาคผนวก ข
แบบทดสอบ
การรู้เท่าทันสื่อสังคมออนไลน์ของเยาวชนเพื่อการเป็นพลเมืองในสังคมประชาธิปไตย
ให้ผู้ท าแบบทดสอบเลือกกาค าตอบเพียงข้อเดียว
ตอนที่ 1 การรับข้อมูลเข้า
1. ในการพิจารณาถึงนโยบายของพรรคการเมืองต่างๆ ในช่วงที่มีการหาเสียงเลือกตั้ง ในฐานะ
ประชาชนผู้มีส่วนได้เสีย ควรมีการหาข้อมูลเพื่อศึกษารายละเอียดของนโยบายของแต่ละพรรค
อย่างไร เพื่อให้ข้อมูลที่ถูกต้องและครบถ้วนมากที่สุด (ตัวชี้วัดที่ 1)
(1) หาข้อมูลจากสื่อกระแสหลักทั่วไป เช่น โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์
(2) หาข้อมูลจากเว็บไซต์ของพรรคการเมือง สื่อการเมืองที่มีการวิพากษ์วิจารณ์การเมืองอย่าง
ตรงไปตรงมา รวมถึงสื่อกระแสหลักอย่างโทรทัศน์ วิทยุและหนังสือพิมพ์
(3) หาข้อมูลจากสื่อการเมือง หรือช่องทางที่ง่ายและสะดวกรวดเร็วในการเข้าถึงข้อมูล
(4) หาข้อมูลจากสื่อหรือส านักข่าวที่น่าเชื่อถือ เว็บไซต์ของพรรคการเมือง สื่อกระแสหลัก เช่น
โทรทัศน์ วิทยุ หนังสือพิมพ์ ฯลฯ และสื่อออนไลน์ ที่หลากหลาย เช่น เฟสบุ๊ค ทวิตเตอร์
ไลน์ ยูทูป ฯลฯ
2. ตัวละครในข้อใดน่าจะเป็นผู้ที่รู้เท่าทันสื่อการเมืองมากที่สุด (ตัวชี้วัดที่ 2)
(1) ธิดา ติดตามข่าวการเมืองจากสื่อโทรทัศน์ทุกวัน เพื่อน าข้อมูลไปประกอบการสอนในวิชา
สังคม เศรษฐกิจ การเมือง
(2) กุ๊ก ติดตามการหาเสียงเลือกตั้ง และนโยบายของพรรคการเมืองผ่านสื่อสังคมออนไลน์ สื่อ
โทรทัศน์ สื่อสิ่งพิมพ์ รวมถึงสืบค้นข้อมูลจากเว็บไซต์ของพรรคการเมือง และติดตามการ
ปราศรัยหาเสียง การประชุมสภา การฟังผู้เชี่ยวชาญวิเคราะห์ทิศทางทางการเมือง
เศรษฐกิจ สังคม
(3) พรสันต์ ติดตามสื่อที่น าเสนอข่าวของพรรคการเมืองพรรคหนึ่งที่มีนโยบายที่น่าสนใจจากสื่อ
ออนไลน์ส านักหนึ่ง เพื่อน ามาเขียนบทความลงวารสาร
(4) มัดหมี่ ติดตามข่าวสารด้านการเมืองจากสื่อสังคมออนไลน์เจ้าประจ า เพื่อรับฟังความ
เคลื่อนไหวทางการเมือง
90