Page 58 - kpi19910
P. 58

48






                      ประเด็นขัดแย้ง :
                               ปัญหาความขัดแย้งในระหว่างชาวบ้านบนเกาะสมุยกับเทศบาลนครเกาะสมุยที่มีปัญหาท า

                      การบริหารจัดการขยะในพื้นที่นั้นยังไม่ประสบความส าเร็จเป็นไปด้วยความยากล าบาก เนื่องจากติดขัด
                      ที่ข้อกฎหมาย ท าให้การออกกฎระเบียบในระดับท้องถิ่นนั้นท าได้ยาก


                      ความเป็นมา :
                               ศ.ศรีราชา วงศารยางค์กูร ประธานผู้ตรวจการแผ่นดิน พร้อมคณะลงพื้นที่ที่จังหวัดสุราษฎร์
                      ธานี ได้ติดตามปัญหาการบริหารจัดการระบบก าจัดขยะบนพื้นที่เกาะสมุยของโรงเผาขยะที่ต าบล
                      มะเร็ด อ าเภอเกาะสมุย จังหวัดสุราษฎร์ธานี เนื่องจากเตาเผาขยะดังกล่าวไม่สามารถใช้งานได้ ส่งผล

                      ให้มีขยะสะสมจ านวนมาก ส่งกลิ่นกระทบกับชาวบ้านกว่า 4,000 คน ใน 4 หมู่บ้าน ทั้งนี้ เตาเผาขยะ
                      ดังกล่าว กรมโยธาธิการและผังเมือง ได้ด าเนินการก่อสร้างมาตั้งแต่ปี 2542 กระทั่งเกิดช ารุดเสียหาย
                      ไม่สามารถใช้งานได้ตั้งแต่ปี 2555 โดยนายรามเนตร ใจกว้าง นายกเทศมนตรีเกาะสมุย ให้ข้อมูลว่า

                      เตาเผาขยะไม่สามารถใช้การได้ เนื่องจากผนังเตาแตกเพราะไม่มีการคัดแยกขยะ อย่างไรก็ดี ที่ผ่านมา
                      ทางเทศบาลนครเกาะสมุยได้ท าสัญญาว่าจ้างบริษัทเอกชน เพื่อด าเนินการก่อสร้างบ่อฝังกลบขยะมูล
                      ฝอย แต่ก็ยังมีขยะตกค้างอยู่ถึง 200,000-300,000 ตัน ขณะที่มีขยะใหม่เพิ่มเข้ามาอีกวันละ 150-200
                      ตันจึงส่งผลเรื่องกลิ่น เบื้องต้นเทศบาลได้ใช้น้ าอีเอ็มฉีดพ่นเพื่อลดกลิ่นประมาณ 4,000 ลิตร/วัน

                      อย่างไรก็ดี ในวันที่ 23 พฤษภาคมนี้ เตรียมจัดให้มีการท าประชาคม เพื่อสอบถามความเห็น และหา
                      ข้อสรุป เลือกแนวทางในการจ ากัดขยะที่เหมาะสม ซึ่งเบื้องต้นมี 2 วิธี คือ 1.ให้เอกชนบริหารจัดการ
                      ขยะโดยน าไปก าจัดในพื้นที่อื่น และ 2.ก าจัดขยะโดยให้เทศบาลนครเกาะสมุยเป็นผู้ด าเนินการเอง
                      ทั้งหมด วันนั้นจะให้ประชาชนตัดสินใจเลือกได้อย่างเต็มที่ และเป็นอิสระ แต่เท่าที่รับฟังความเห็นของ

                      ประชาชนมีความต้องการให้น าขยะออกนอกพื้นที่ ซึ่งยอมรับว่าการบริหารจัดการขยะในพื้นที่นั้น
                      เป็นไปด้วยความยากล าบาก เนื่องจากติดขัดที่ข้อกฎหมาย ท าให้การออกกฎระเบียบในระดับท้องถิ่น
                      นั้นท าได้ยาก และ ศ.ศรีราชา กล่าวย้ าว่า จะเร่งช่วยประสานกับหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง รวมถึง
                      เสนอไปยังนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีที่ดูแลเพื่อแก้ไขกฎหมาย อาทิ พ.ร.บ.สาธารณสุข เพื่อ

                      ด าเนินการเชิงป้องกัน ตั้งแต่ต้นทาง เช่น การจัดเก็บภาษีส าหรับผู้ประกอบการ การเพิ่มเพดานค่า
                      ก าจัดขยะ หรือมีมาตรการคัดแยกขยะ เป็นต้น ขณะที่ชาวบ้านรายหนึ่งซึ่งอยู่ใกล้เคียงโรงเผาขยะ
                      กล่าวว่า ได้รับผลกระทบทั้งเรื่องของกลิ่น และแหล่งน้ าที่ไปรวมกับแม่น้ าสายใหญ่ซึ่งชาวบ้านต้องใช้
                      ก่อนหน้านี้มีหน่วยงานที่เกี่ยวข้องมารับฟังความคิดเห็นในการก่อสร้างโรงงานเผาขยะดังกล่าว ซึ่งเห็น

                      ว่า เป็นโครงการที่ดีมากจึงไม่คัดค้าน แต่ภายหลังพบว่าไม่มีการคัดแยกขยะ ท าให้เตาเผาพัง เมื่อเกิด
                      ปัญหาขึ้นฝ่ายที่ควรแก้ไขไม่ด าเนินการใด ๆ เชื่อว่า ถ้าจ้างบริษัทที่ดีมีคุณภาพมาจัดการโรงเผาขยะ
                      น่าจะแก้ไขปัญหาได้ โดยส่วนตัวไม่เห็นด้วยกับการน าขยะที่มีอยู่ไปไว้ที่อื่น เพราะท าให้คนอื่น
                      เดือดร้อน หากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องตั้งใจท าจริงคงจะแก้ไขได้นานแล้ว แต่ที่เกิดความล่าช้าอาจเป็น

                      เพราะมีผลประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งเข้ามาเกี่ยวข้องหรือไม่ จึงส่งผลท าให้ยังแก้ไขปัญหาไม่ได้
                      แนะท าประชามติทุกกลุ่ม ด้านนายอานนท์ วาทยานนท์ กรรมการธรรมาภิบาลจังหวัดสุราษฎร์ธานี
                      เปิดเผยกับ "ฐานเศรษฐกิจ" โดยตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับเรื่องนี้ว่า ปัญหาความขัดแย้งในเรื่องนี้ยังมีอยู่

                      ระหว่างท้องถิ่นกับภาคประชาชน ซึ่งที่ผ่านมาภาคประชาชนได้ท าข้อเสนอ เปรียบเทียบผลดี ผลเสีย
                      รายได้ ความยั่งยืน รวมถึงผลกระทบที่จะเกิดขึ้น ส่งให้กับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องแล้ว พร้อมตั้งข้อสังเกต
   53   54   55   56   57   58   59   60   61   62   63