Page 56 - kpi19910
P. 56

46






                      ในเขตเทศบาลที่มีปริมาณวันละกว่า 130 ตัน ล้น ส่งเกลิ่นเหม็นเน่าไปทั่วเมืองสุราษฎร์ธานี ขณะที่
                      ชาวเมืองเกรงว่าจะเกิดเชื้อโรคระบาดขึ้น

                               เมื่อวันที่ 20 มีนาคม 2557 ไฟไหม้บ่อขยะร้างเทศบาลนครสุราษฎร์ธานีสาเหตุคาดเกิดจาก
                      ความร้อน เจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเทศบาล ต าบลวัดประดู่ อ าเภอเมือง จังหวัด
                      สุราษฎร์ธานีได้รับแจ้งเกิดเหตุไฟไหม้บ่อขยะร้างของเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ที่บ้านพังจิก หมู่ 5
                      ต าบลวัดประดู่ และก าลังลุกลามขยายวงกว้าง จึงประสานรถดับเพลิงจากเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี

                      เทศบาลเมืองท่าข้าม ส านักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 11 กว่า 10 คันกระจายเข้าเร่ง
                      ฉีดน้ า  ทั้งนี้มีนายธีรกิจ หวังมุฑิตากุล นายกเทศมนตรีนครสุราษฎร์ธานี และ นายประเสริฐ
                      บุญประสพ รองนายกเทศมนตรีได้รีบไปที่เกิดเหตุและอ านวยการดับเพลิงนานกว่า 2 ชั่วโมง ยังไม่

                      สามารถควบคุมเพลิงได้ จึงตัดสินใจใช้รถแบคโฮเข้าขุดดินเป็นแนวคูกันไฟไม่ให้ขยายวงกว้างและฉีดน้ า
                      เลี้ยงพื้นที่จนดับไป จากการตรวจสอบที่เกิดเหตุมีเนื้อที่ประมาณ 43 ไร่เป็นบ่อขยะร้างที่เทศบาลนครสุ
                      ราษฎร์ธานีได้เลิกใช้มา 5 ปีแล้ว เนื่องจากขัดแย้งกับประชาชนในพื้นที่


                      คู่ขัดแย้งหลักและจุดยืน :
                               1. ชาวบ้านต าบลวัดประดู่ อ าเภอเมืองสุราษฎร์ธานี ไม่พอใจกลิ่นเหม็นของขยะจากบ่อทิ้ง
                      ขยะของเทศบาล

                               2. เทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ใช้บ่อขยะเป็นที่ทิ้งขยะของพื้นที่

                      ผู้เกี่ยวข้องอื่น :

                               1. เทศบาลเมืองท่าข้าม
                               2. ส านักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณะภัยเขต 11


                      ระยะเวลา : 5 ปี (พ.ศ. 2552 – 2557)

                      สถานะ : ได้รับการแก้ไข โดยยกเลิกการใช้บ่อขยะ


                      พลวัต :
                               ชาวบ้านไม่พอใจบ่อทิ้งขยะของเทศบาลนครสุราษฎร์ธานี ส่งกลิ่นรบกวนจึงรวมตัวตัวน า

                      วัสดุปิดกั้นทางเข้า-ออก บ่อทิ้งขยะ และเมื่อเกิดเหตุการณ์ปิดทางเข้าออกบ่อขยะ เทศบาลนคร
                      สุราษฎร์ธานีให้เจ้าหน้าด าเนินการจัดเก็บขยะในที่ต่าง ๆ เพื่อไม่ก่อมลภาวะทางอากาศ และต่อมาบ่อ
                      ขยะนี้ได้ปิดตัวลง โดยไม่มีการใช้ทิ้งขยะอีกต่อไป


                      ระดับความรุนแรง : ไม่มีความเสียหายทั้งต่อทรัพย์สินและร่างกาย


                      วิธีการแก้ไข :
                      กลยุทธ์ของการจัดการความขัดแย้งเพื่อแก้ไขปัญหา คือ
                               1. ชาวบ้านรวมตัวน าวัสดุขัดขวางการทิ้งขยะในพื้นที่ส่งผลต่อชาวบ้านในพื้นที่ ต่อมาบ่อขยะ

                      นี้ถูกปิด เพื่อไม่ส่งผลกระทบต่อชาวบ้านในพื้นที่
                               2. การสื่อสารผ่านสื่อเพื่อให้เรื่องขยะของพื้นที่ไปถึงนายกเทศมนตรี
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61