Page 28 - kpi19910
P. 28
18
2.1) น าผลวิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการศึกษาเอกสาร หนังสือ บทความ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้องมาสร้างแบบสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview)
2.2) สร้างแบบสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) มีประเด็นต่าง ๆ
เกี่ยวกับและสาเหตุความขัดแย้งโดยเน้นในด้านของความขัดแย้งอันเนื่องมาจากโครงการที่เกิดขึ้นตาม
แนวนโยบายของรัฐ และแนวทางบริหารความขัดแย้งของโครงการที่เกิดขึ้นตามแนวนโยบายของรัฐใน
พื้นที่ภาคใต้
2.3) น าแบบสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview) พิจารณาความ
สมบูรณ์ ความถูกต้องของเครื่องมือและปรับปรุงแก้ไขก่อนการเก็บข้อมูลจริง
3) การเก็บรวบรวมข้อมูล
เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth Interview)
จากกลุ่มตัวอย่าง ดังนี้
3.1) ท าหนังสือขอความร่วมมือในการเก็บรวบรวมถึงผู้ให้ข้อมูล
3.2) ติดต่อประสานงาน และก าหนดวันเวลาในการสัมภาษณ์กับ
ผู้ให้ข้อมูล
3.3) สัมภาษณ์ และตรวจสอบความถูกต้อง ความสมบูรณ์ของข้อมูลที่ได้
ตามแนวประเด็นค าถาม
4) การวิเคราะห์ข้อมูล
โดยน าข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกมาพิมพ์บรรยายและจัดหมวดหมู่
เนื้อหา ประเด็นต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง มีการวิเคราะห์ข้อมูลดังนี้
4.1) วิเคราะห์ข้อมูลขณะสัมภาษณ์ ตามประเด็นค าถามจากผู้ให้ข้อมูล
ขยายความของค าตอบเพื่อความชัดเจนและครอบคลุมประเด็นค าถามหลักที่ต้องการ
4.2) วิเคราะห์ข้อมูลรายวัน เป็นการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นหลังจากเก็บ
รวบรวมข้อมูล น าข้อมูลมาตรวจสอบความถูกต้อง สรุปและแยกประเด็นต่าง ๆ
4.3) วิเคราะห์ความสัมพันธ์ตามหมวดหมู่ของข้อมูลที่ได้มาว่ามีความ
เหมือน ความต่างของข้อมูลอย่างเป็นระบบ
4.4) วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อหาข้อสรุปถึงสถานการณ์ และสาเหตุของความ
ขัดแย้งโดยเน้นในด้านของความขัดแย้งอันเนื่องมาจากโครงการที่เกิดขึ้นตามแนวนโยบายของรัฐ และ
แนวทางบริหารความขัดแย้งของโครงการที่เกิดขึ้นตามแนวนโยบายของรัฐในพื้นที่ภาคใต้ หลังจาก
วิเคราะห์ตามกระบวนการต่าง ๆ ข้างต้น
5) การตีความและการน าเสนอข้อมูล
5.1) ตีความข้อมูลโดยยึดประเด็นค าถามการวิจัย วัตถุประสงค์การวิจัย
และใช้กรอบ แนวคิดทฤษฎี เป็นแนวทางการอธิบายปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้น
5.2) สรุปผลการตีความข้อมูลและตรวจสอบยืนยันข้อมูลที่ได้โดยใช้
วิธีการตรวจสอบ แบบเชื่อมโยงสามเส้า (Triangulation)