Page 32 - kpi19910
P. 32

22






                      อยู่ในค่ายเขตอุดมศักดิ์ มทบ.44 วันที่ 19 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560 เจ้าหน้าที่ทหารได้เดินทางเข้าไปใน
                      หมู่บ้านโดยอ้างค าสั่งมาตรา 44 ขอน าตัวประชาชนเข้าไปค่ายทหาร แต่มีการเจรจาต่อรองกันขึ้น

                      ท้ายที่สุดเจ้าหน้าที่ได้ก าชับให้ประชาชนเดินทางไปที่ค่าย ปัจจุบัน ปี 2561 โครงการยังไม่มีความ
                      คืบหน้า ประชาชนฝ่ายหนึ่งต้องการให้มีการก่อสร้างเขื่อนท่าแซะถือเป็นโครงการที่มีความส าคัญใน
                      การช่วยแก้ไขปัญหาเรื่องน้ าและปัญหาความเดือดร้อนของชาวชุมพรได้อย่างยั่งยืน และยังเป็นแหล่ง
                      ต้นทุนก่อให้เกิดอาชีพใหม่ ๆ อีกหลายอาชีพ เป็นการเพิ่มรายได้ให้ประชาชนอีกช่องทางหนึ่ง แต่

                      ทางด้านประชาชนอีกฝ่ายมีความเห็นว่าการสร้างเขื่อนจะท าให้ประชาชนยังประสบปัญหาความ
                      เดือดร้อนจากภาวะน้ าท่วมขังซ้ าซาก ทรัพย์สิน ตลอดจนผลผลิตทางการเกษตรได้รับความเสียหาย ซึ่ง
                      ประชาชนมีความคิดเห็นแบ่งออกเป็นทั้งที่เห็นด้วยและไม่เห็นด้วยต่อการด าเนินโครงการ โดย

                      โครงการสร้างเขื่อนท่าแซะซึ่งเป็นเขื่อนขนาดใหญ่ โดยแนวสันเขื่อนตั้งอยู่บนรอยเลื่อนของเปลือกโลก
                      (แนวแผ่นดินไหว) ที่ยังมีพลัง รอยเลื่อนระนอง จะกลายเป็นเขื่อนที่มีความเสี่ยงสูงที่สุดของประเทศ
                      ไทย  และที่ส าคัญเรื่องกระบวนการมีส่วนร่วม การตัดสินใจของประชาชนผู้ที่ได้รับความเดือดร้อนจาก
                      การด าเนินโครงการยังไม่มีเลย อีกทั้งยังถูกละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นรุนแรง ถูกข่มขู่ คุกคาม อย่าง
                      ต่อเนื่อง จากมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 15 ม.ค.51 ที่ให้ชะลอโครงการดังกล่าว แต่หอการค้า สภา

                      อุตสาหกรรม คณะกรรมการร่วมเอกชนสามสถาบัน และองค์การปกครองส่วนท้องถิ่น จะผลักดัน
                      โครงการเขื่อนท่าแซะขนาดใหญ่มูลค่า 3,800 ล้านบาท มีพื้นที่ได้รับผลกระทบรวมกว่าหมื่นไร่ ภายใต้
                      การด าเนินการโดยกรมชลประทาน ตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาชาวบ้านไม่ได้รับความเป็นธรรมจากการ

                      กระท าของอ านาจรัฐและอ านาจทุน รวมถึงนักการเมืองท้องถิ่นที่ผลักดันโครงการเขื่อนท่าแซะมา
                      ตลอด และที่ส าคัญเขื่อนนี้จะส่งผลกระทบหลายด้านต่อทรัพยากรและชาวบ้านเป็นจ านวนมาก คือ
                      1) ชาวบ้านกว่า 500 ครอบครัวจะถูกอพยพย้ายถิ่นฐานของตนเองจากการสร้างเขื่อนท่าแซะ
                      2) สูญเสียพื้นที่ป่าในเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่ากรมหลวงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ ด้านทิศเหนือ จ านวน  3,570

                      ไร่ และน้ าจะท่วมพื้นที่เกษตรกรรมของชาวบ้านมากกว่า 5,000 ไร่

                      คู่ขัดแย้งหลักและจุดยืน :
                               1. ชาวบ้านต าบลสองพี่น้อง อ าเภอท่าแวะขอให้ยกเลิกการสร้างเขื่อน
                               2. กรมชลประทาน ระบุการสร้างเข่อนช่วยป้องกันน้ าท่วม


                      ผู้เกี่ยวข้องอื่น :
                               1. ผู้ว่าราชการจังหวัดชุมพร

                               2. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.)
                               3. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
                               4. นายกเทศมนตรีเมืองชุมพร

                               5. กรมป่าไม้
                               6. ทหาร
                               7. กรมที่ดิน
                               8. ผู้จัดการบริษัท วิจิตรภัณฑ์ปาล์มออย จ ากัด (มหาชน)

                               9. หอการค้าจังหวัดชุมพร
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37