Page 155 - kpi19903
P. 155
127
ประชาธิปัตย์ -.87** .95** -.18** -.21** -.60** .78** -.11 -.21*
มหาชน .19** -.30** .16** .04 .02 -.04* .06 .04
พลังประชาชน .94** -.86** .09 -.08 .76** -.53** .07 -.36**
ประชาธิปัตย์ -.90** .96** -.18** -.23** -.67** .92** -.07 -.40**
กำรเลือกตั้ง แบบสัดส่วน ปี 2550 ชาติไทย -.05 -.14** -.06 .82** -.09** -.11** -.01 .83**
มัชฌิมาธิปไตย
.08
.01
.04 -.07** .04
.03
-.10* .25**
-.07
-.01
ประชาราช
.09
-.02
-.10*
.01
.03
.00
เพื่อแผ่นดิน .37** -.42** .21** -.04 .07* -.10** .09 .02
รวมใจไทยชาติพัฒนา .06 -.20** .10* .01 .02 -.04 -.18** -.02
8.4 พรรคกำรเมืองพรรคใดสำมำรถรักษำฐำนเสียงในกำรเลือกตั้ง ส.ส. ระบบแบ่งเขต/ระบบบัญชีรำยชื่อได้
ดีกว่ำกัน?
ในการเลือกตั้ง ส.ส. ระบบแบ่งเขตนั้น พรรคประชาธิปัตย์มีแนวโน้มที่จะรักษาฐานเสียงไว้ได้ดีกว่าพรรค
ไทยรักไทย พลังประชาชน และเพื่อไทย เพราะผลการเลือกตั้ง ส.ส. ระบบแบ่งเขตในปี 2548 และในปี 2550 มี
ความสัมพันธ์กับผลการเลือกตั้ง ส.ส. ระบบแบ่งเขตในปี 2554 (r=.86 & .89 ตามล าดับ) อันมีค่าสูงกว่าค่า
สหสัมพันธ์ของผลการเลือกตั้ง ส.ส. ระบบแบ่งเขตพรรคไทยรักไทยในปี 2548 และพรรคเพื่อไทยในปี 2554 (r=.
80) และค่าสหสัมพันธ์ระหว่างผลการเลือกตั้ง ส.ส. ระบบแบ่งเขตพรรคพลังประชาชนในปี 2550 กับพรรคเพื่อ
ไทยในปี 2554 (r=.39) และในอีกแง่หนึ่งผลการเลือกตั้งในปี 2554 พรรคเพื่อไทยได้กลับมามีคะแนนน าอีกครั้ง
อาจจะกล่าวได้พรรคเพื่อไทยได้ฐานเสียงกว้างขึ้นกว่าเดิมเมื่อเทียบกับการเลือกตั้งในปี 2550 ก็เป็นได้
แม้ว่าพรรคประชาธิปัตย์มีแนวโน้มจะรักษาฐานเสียงไว้ได้ดีกว่า แต่สิ่งที่น่าคิดในมุมกลับกัน คือ พรรค
ประชาธิปัตย์ก็ไม่อาจขยายทางเสียงออกไปจากพื้นที่เดิมได้ คะแนนเสียงของพรรคประชาธิปัตย์ยังกระจุกตัวใน
พื้นที่เดิม ๆ เป็นหลัก คือ ในภาคใต้ ในขณะที่พรรคไทยรักไทย พลังประชาชน และเพื่อไทย แม้ว่าอาจจะรักษาฐาน
เสียงเดิมไว้ไม่ได้ดีเท่าพรรคประชาธิปัตย์แต่มีการเปลี่ยนแปลงฐานเสียงอย่างชัดเจนทั่วทุกภูมิภาคดังแสดงในรูปที่
8.1 รูปที่ 8.2 และรูปที่ 8.3 ซึ่งจะเห็นการเปลี่ยนแปลงมากกว่า
ดังนั้น จึงตอบค าถามน าการวิจัยที่สามได้ว่า พรรคประชาธิปัตย์สามารถรักษาฐานเสียงในการเลือกตั้ง
ส.ส. ระบบเขตเลือกตั้งได้ดีกว่าพรรคเพื่อไทยเล็กน้อย ส่วนพรรคขนาดกลางและขนาดเล็กแทบจะรักษาฐานเสียง
เดิมไม่ได้ หรืออีกในแง่หนึ่งพรรคขนาดกลางและขนาดเล็กมีแนวโน้มจะเป็นพรรคเฉพาะกิจหรือพรรคหัวหน้าตั้งอัน
ไม่ยั่งยืนและล้มหายตายจากไปอย่างรวดเร็วอันเป็นอนิจลักษณะของพรรคการเมืองไทย
ส าหรับการเลือกตั้ง ส.ส. ในระบบสัดส่วน/บัญชีรายชื่อ พรรคประชาธิปัตย์ก็ยังคงมีแนวโน้มที่จะรักษาฐาน
เสียงเดิมไว้ได้ค่อนข้างดีกว่าพรรคไทยรักไทย พลังประชาชน และเพื่อไทย โดยที่ร้อยละของคะแนนเสียงเลือกตั้ง
ระบบสัดส่วน/บัญชีรายชื่อของพรรคประชาธิปัตย์ในปี 2548 และ 2550 สัมพันธ์กับ ร้อยละของคะแนนเสียง
เลือกตั้งระบบสัดส่วน/บัญชีรายชื่อของพรรคประชาธิปัตย์ในปี 2554 (r=.65 & .92 ตามล าดับ) ในขณะที่ร้อยละ