Page 154 - kpi19903
P. 154
126
ระบบสัดส่วน/บัญชีรายชื่อของพรรคประชาธิปัตย์ในปี 2554 (r=.65 & .92 ตามล าดับ) ทั้งนี้ค่าสหสัมพันธ์ระหว่าง
ปีที่ใกล้กันกว่ามีค่าสูงกว่าอันเป็นลักษณะโดยทั่วไปของข้อมูลอนุกรมเวลา
นอกจากนี้ยังพบว่า ร้อยละของคะแนนเสียงเลือกตั้งระบบสัดส่วน/บัญชีรายชื่อของพรรคไทยรักไทยในปี
2548 สัมพันธ์กับร้อยละของคะแนนเสียงเลือกตั้งระบบสัดส่วน/บัญชีรายชื่อของพรรคเพื่อไทยในปี 2554 (r= .65)
และร้อยละของคะแนนเสียงเลือกตั้งระบบสัดส่วน/บัญชีรายชื่อของพรรคพลังประชาชนในปี 2550 สัมพันธ์กับร้อย
ละของคะแนนเสียงเลือกตั้งระบบสัดส่วน/บัญชีรายชื่อของพรรคเพื่อไทยในปี 2554 (r= .76)
สิ่งที่น่าแปลกใจ ผลการเลือกตั้งระบบสัดส่วน/บัญชีรายชื่อในปี 2550 ของพรรคชาติไทยกับผลการ
เลือกตั้งระบบสัดส่วน/บัญชีรายชื่อของชาติไทยพัฒนาในปี 2554 มีความสัมพันธ์กันสูงมาก (r=.83) ในขณะที่
พรรคการเมืองขนาดกลางและขนาดเล็กไม่สามารถรักษาฐานเสียงในการเลือกตั้งระบบสัดส่วน/บัญชีรายชื่อ ไว้ได้
เลยดังจะเห็นได้จากค่าสหสัมพันธ์ในตารางที่ 8.4 มีเพียงพรรคชาติไทยที่สามารถท าได้
เราจึงสามารถตอบค าถามน าการวิจัยที่สองได้ว่า เฉพาะพรรคการเมืองขนาดใหญ่ คือ พรรคไทยรักไทย
พลังประชาชน เพื่อไทย และประชาธิปัตย์ ที่สามารถรักษาฐานเสียงทางการเมืองในการเลือกตั้ง ส.ส. ระบบ
สัดส่วน/บัญชีรายชื่อไว้ได้ ส าหรับพรรคขนาดกลางและเล็กมีเพียงพรรคชาติไทยเท่านั้นที่สามารถรักษาฐานเสียง
ทางการเมืองไว้ได้อย่างเข้มแข็ง
ตำรำงที่ 8.4 ความสัมพันธ์ระหว่างผลการเลือกตั้งแบบบัญชีรายชื่อปี 2548 2550 กับผลการเลือกตั้งแบบบัญชี
รายชื่อปี 2554
ผลกำรเลือกตั้ง ส.ส. ปี 2554 แบบบัญชีรำยชื่อ
ไม่พิจำรณำควำมสัมพันธ์เชิงพื้นที่ พิจำรณำควำมสัมพันธ์เชิงพื้นที่
เพื่อไทย ประชาธิปัตย์ ภูมิใจไทย ชาติไทย พัฒนา เพื่อไทย ประชาธิปัตย์ ภูมิใจไทย ชาติไทย พัฒนา
ปี 2548
รำยชื่อ
กำร เลือกตั้ง แบบ บัญชี ไทยรักไทย .91** -.87** .13* -.13* .65** -.50** .06 -.55**
.73** -.07* -.08** -.02 .65**
.04 -.22** .01
ชาติไทย