Page 118 - kpi19815
P. 118
116 การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 117
132
ตัวบุคคล” (Personalisierte Verhätniswahl) เพื่อแก้ไขปัญหาจาก โดยแบ่งเป็นการตรวจสอบโดยการเสนอคำาร้องต่อสภาผู้แทนราษฎร
ระบบเลือกตั้งเดิมที่เคยประสบมาและในขณะเดียวก็สามารถรักษาข้อดี เป็นชั้นแรก และสามารถเสนอคำาร้องดังกล่าวต่อศาลรัฐธรรมนูญในชั้น
ของระบบสัดส่วนแบบเดิมไว้ได้ กล่าวอีกนัยหนึ่งคือเป็นระบบการเลือกตั้ง ที่สอง ระบบดังกล่าวได้รับการออกแบบโดยมีจุดประสงค์เพื่อให้สภา
ที่สะท้อนเจตจำานงของประชนได้ดี แต่ไม่ส่งผลให้เกิดปัญหาด้าน ผู้แทนราษฎรช่วยลดภาระของศาลรัฐธรรมนูญโดยการกลั่นกรองคำาร้อง
133
เสถียรภาพทางการเมือง อาจกล่าวได้ว่า หากต้องการจะศึกษาหรือ คัดค้านผลการเลือกตั้งในชั้นแรก การพิจารณาระบบการคัดค้าน
อ้างอิงระบบการเลือกตั้งแบบผสมก็คงจะหลีกเลี่ยงที่จะกล่าวถึงระบบ ผลการเลือกตั้งของประเทศเยอรมนีจึงประกอบไปด้วย 2 ขั้นตอนอัน
สัดส่วนผสมของประเทศเยอรมนีไม่ได้ เนื่องจากเป็นระบบการเลือกตั้ง ประกอบด้วยการคัดค้านผลการเลือกตั้งต่อสภาผู้แทนราษฎรในเบื้องต้น
แบบผสมที่มีประสิทธิภาพที่สุดระบบหนึ่งในปัจจุบัน หากผู้เสนอคำาร้องคัดค้านไม่เห็นด้วยกับผลการวินิจฉัยของสภาผู้แทน
ราษฎรก็สามารถเสนอคำาร้องต่อศาลรัฐธรรมนูญในลำาดับต่อมา จะเห็นว่า
นอกจากระบบการเลือกตั้งของประเทศเยอรมนีจะมีลักษณะ
เฉพาะเป็นอย่างยิ่งแล้ว การตรวจสอบความสุจริตและเที่ยงธรรมในการ กระบวนการข้างต้นนี้มีองค์กรที่มีอำานาจวินิจฉัยถึง 2 องค์กร โดยเป็น
เลือกตั้งของประเทศเยอรมนี (Wahlprüfungsrecht) ก็นับว่าเป็นระบบ 2 องค์กรที่โดยปกติมีลักษณะการใช้อำานาจหน้าที่แตกต่างกันโดยสิ้นเชิง
ที่มีความสลับซับซ้อนเช่นเดียวกับระบบเลือกตั้งที่ได้อธิบายไว้ข้างต้น การศึกษาระบบการคัดค้านผลการเลือกตั้งของประเทศเยอรมนีจึงควร
โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระบวนการคัดค้านผลการเลือกตั้งสมาชิกสภา ใช้องค์กรที่มีอำานาจวินิจฉัยเป็นเกณฑ์ในการแบ่งแยก ดังนั้น ในเบื้องต้น
ผู้แทนราษฎรซึ่งมีลักษณะแตกต่างจากระบบการคัดค้านผลการเลือกตั้ง เราควรพิจารณาการคัดค้านผลการเลือกตั้งต่อสภาผู้แทนราษฎร
ของประเทศอื่นๆ อย่างมีนัยสำาคัญ กล่าวคือ รูปแบบการคัดค้านผลการ เสียก่อน จากนั้นจึงสามารถพิจารณาการคัดค้านผลการเลือกตั้งต่อ
เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของประเทศเยอรมนีมีลักษณะ 2 ชั้น ศาลรัฐธรรมนูญในลำาดับถัดไป
2.1 ก�รคัดค้�นผลก�รเลือกตั้งสม�ชิกสภ�ผู้แทนร�ษฎร
132
ระบบดังกล่าวจะแบ่งจำานวนผู้แทนออกเป็น 2 ชุดเท่าๆ กัน ผู้มีสิทธิเลือกตั้งแต่ละคนมีสิทธิ ต่อสภ�ผู้แทนร�ษฎร
ลงคะแนนเสียง 2 คะแนน คะแนนหนึ่งเป็นการเลือกผู้แทนแบบแบ่งเขต อีกคะแนนเป็นการ
เลือกผู้แทนในระบบบัญชีรายชื่อ โดยการคิดคำานวณจะเริ่มจากการนับคะแนนเสียงประเภท การคัดค้านผลการเลือกตั้งต่อสภาผู้แทนราษฎร (Bundestag)
บัญชีรายชื่อก่อนเพื่อกำาหนดจำานวนผู้แทนทั้งหมดที่แต่ละพรรคจะได้รับตามสัดส่วน จากนั้น
จึงคำานวณคะแนนประเภทแบ่งเขต ซึ่งจำานวนผู้แทนที่ได้จากระบบแบ่งเขตจะถูกนำาไปหักออก เป็นช่องทางเบื้องต้นในการคัดค้านผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน
จากจำานวนผู้แทนที่พรรคได้รับ ส่วนจำานวนที่เหลือเป็นจำานวนผู้แทนในระบบบัญชีรายชื่อ ราษฎร ผู้เสนอคำาร้องคัดค้านไม่สามารถใช้สิทธิทางศาลได้หากมิได้เสนอ
(จากการคำานวณตามสัดส่วน) และเพื่อป้องกันปัญหาด้านเสถียรภาพทางการเมือง กฎหมายเลือกตั้ง
เยอรมันจึงกำาหนดให้พรรคที่ได้คะแนนเสียงประเภทบัญชีรายชื่อไม่ถึง 5% ไม่ได้รับที่นั่งในส่วน
ของบัญชีรายชื่อ; โปรดดู บุญศรี มีวงศ์อุโฆษ. อ้างแล้ว. หน้า 36 – 45; ปูนเทพ ศิรินุพงศ์.
(2559). กฎหมายเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรแห่งสหพันธ์สาธารณรัฐเยอรมนี. กรุงเทพฯ: 133 H. Lackner, Grundlagen des Wahlprüfungsrechts nach Art. 41 GG, in: JuS 2010,
คณะกรรมการส่งเสริมงานวิจัยคณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. หน้า 44 – 54 S. 307 (308); อ้างถึงใน ปูนเทพ ศิรินุพงศ์. (2559). อ้างแล้ว. หน้า 61