Page 122 - kpi19815
P. 122
120 การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 121
อำานาจอธิปไตยในอยู่และในขณะเดียวกันก็อยู่ภายใต้รัฐธรรมนูญของ 2.1.1.3 ประธานสภาผู้แทนราษฎร
140
สหพันธ์ ดังนั้นองค์กรที่ทำาหน้าที่จัดการเลือกตั้งจึงมีทั้งระดับรัฐและ ประธานสภาผู้แทนราษฎรแห่งสหพันธรัฐ (Bundestag-
ระดับสหพันธรัฐ โดยองค์กรในระดับที่มีบทบาทสำาคัญในการเลือกตั้ง spräsident) มาจากเลือกกันเองระหว่างสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจำานวน
สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีอยู่ด้วยกัน 2 องค์กรคือ คณะกรรมการ 299 คน มีอำานาจหน้าที่ในการควบคุมระเบียบและการดำาเนินการประชุม
การเลือกตั้งในระดับรัฐ และคณะกรรมการการเลือกตั้งในระดับสหพันธ์
ต่างๆ รวมทั้งการควบคุมความสงบเรียบร้อยของสภาผู้แทนราษฎร
143
คณะกรรมการการเลือกตั้งในระดับรัฐมีหน้าที่ในการรวบรวม นอกจากนี้ประธานสภาผู้แทนราษฎรยังมีอำานาจในเสนอคำาร้องคัดค้าน
ผลการเลือกตั้งในระดับรัฐ ดังนั้นในทุกๆ รัฐสมาชิกจะมีคณะกรรมการ ผลการเลือกตั้งต่อสภาผู้แทนราษฎรอีกด้วย 144
ดังกล่าว 1 ชุด แต่ละชุดจะมีประธานคณะกรรมการการเลือกตั้ง 1 คน 2.1.2 เงื่อนไขและรูปแบบของคำาร้อง
ซึ่งได้รับการแต่งตั้งจากรัฐบาลของแต่ละรัฐ ส่วนคณะกรรมการ
การเลือกตั้งในระดับสหพันธ์มีหน้าที่ในการรวบรวมผลการเลือกตั้ง ผู้มีสิทธิคัดค้านผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะ
ทั้งหมดในสหพันธ์รวมทั้งมีหน้าที่ในการประกาศผลการเลือกตั้งด้วย ต้องเสนอคำาร้องต่อสภาผู้แทนราษฎรภายใน 2 เดือนนับแต่วันเลือกตั้ง
ประธานคณะกรรมการการเลือกตั้งในระดับสหพันธ์เข้าสู่ตำาแหน่งโดย กระบวนการตรวจสอบผลการเลือกตั้งจะเริ่มโดยสภาผู้แทนราษฎรโดย
การแต่งตั้งของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย โดยคณะกรรมการ ปราศจากคำาร้องไม่ได้ ซึ่งคำาร้องดังกล่าวจะต้องมีการทำาเป็นลายลักษณ์
การเลือกตั้งทั้ง 2 ชุดนี้มีลักษณะที่เป็นอิสระจากรัฐบาลพอสมควรเพื่อ อักษรอธิบายเหตุแห่งการคัดค้านมาให้ครบถ้วน การบรรยายคำาร้องที่ไม่
เป็นการประกันความเป็นกลางในการปฏิบัติหน้าที่ 141 สมบูรณ์อาจส่งผลถึงคำาวินิจฉัยของสภาผู้แทนราษฎร เนื่องจากสภาจะ
พิจารณาคำาร้องในขอบเขตเนื้อหาที่ผู้ร้องบรรยายมาเท่านั้น ไม่สามารถ
ในแง่ของการตรวจสอบความสุจริตและเที่ยงธรรมของการ พิจารณานอกเหนือจากเหตุผลที่ปรากฏในคำาร้อง อนึ่ง การบรรยาย
145
เลือกตั้ง ประธานคณะกรรมการการเลือกตั้งทั้งในระดับรัฐและในระดับ คำาร้องดังกล่าวไม่เพียงส่งผลต่อการพิจารณาของสภาผู้แทนราษฎร
สหพันธรัฐมีอำานาจในการเสนอคำาร้องคัดค้านผลการเลือกตั้งสมาชิก แต่ยังส่งผลต่อการเสนอคำาร้องในชั้นที่สองต่อศาลรัฐธรรมนูญดังจะได้
สภาผู้แทนราษฎรต่อสภาผู้แทนราษฎรเช่นเดียวกับผู้มีสิทธิเลือกตั้ง 142
อธิบายในส่วนถัดไป
140 โปรดดู ฐากูร ศิริยุทธ์วัฒนา. อ้างแล้ว. หน้า 57 143 มาตรา 40 แห่งรัฐธรรมนูญ
141 K. Braunias, Das parlementarische Wahlrecht, 2. Bd., Berlin u. Leipzig 1932, S. 135; 144 มาตรา 2 รัฐบัญญัติว่าด้วยการตรวจสอบการเลือกตั้ง
อ้างถึงใน บุญศรี มีวงศ์อุโฆษ. อ้างแล้ว. หน้า 30 – 31 145 H. Lackner, Grundlagen des Wahlprüfungsrechts nach Art. 41 GG, in: JuS 2010,
142
มาตรา 2 รัฐบัญญัติว่าด้วยการตรวจสอบการเลือกตั้ง S. 307; อ้างถึงใน ปูนเทพ ศิรินุพงศ์. อ้างแล้ว. หน้า 63