Page 126 - kpi19815
P. 126

124                                                                                                               การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง  125


           ในทางปฏิบัติกลับพบว่าสภาผู้แทนราษฎรมีคำาวินิจฉัยยกคำาร้องของ                           2.2 ก�รคัดค้�นผลก�รเลือกตั้งต่อศ�ลรัฐธรรมนูญ

           ผู้มีสิทธิคัดค้านเกือบทั้งหมด โดยในการพิจารณาคำาร้องของสภาผู้แทน                                ศาลรัฐธรรมนูญแห่งสหพันธรัฐ (Bundesverfassungsgericht)
           ราษฎรในหลายกรณีมีลักษณะคล้ายกับการประวิงเวลาในการตรวจสอบ                               ประกอบไปด้วยตุลาการจำานวน 16 คนซึ่งแบ่งออกเป็น 2 องค์คณะ
           ผลการเลือกตั้งให้ล่าช้าออกไป เพราะฉะนั้นในบางกรณีกระบวนการ                             องค์คณะละ 8 คน โดยเป็นการแบ่งในลักษณะถาวรคือกำาหนดองค์คณะ

           ตรวจสอบดังกล่าวกลับกลายสภาพเป็นกระบวนการขัดขวางการ                                     ตั้งแต่เริ่มเข้ารับตำาแหน่งและไม่มีการสลับสับเปลี่ยนจนพ้นจากวาระ
           ตรวจสอบผลการเลือกตั้ง (Wahlprüfungsverhinderungsverfahren)                             การดำารงตำาแหน่ง 159

           ไปเสียเอง 158
                                                                                                           มีอำานาจในการพิจารณาและวินิจฉัยคำาร้องคัดค้านผลการ
                   เมื่อได้พิจารณากระบวนการคัดค้านผลการเลือกตั้งสมาชิก                            เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรต่อจากสภาผู้แทนราษฎร กล่าว
           สภาผู้แทนราษฎรต่อสภาผู้แทนราษฎรของประเทศเยอรมนีแล้ว                                    อีกนัยหนึ่งคือการคัดค้านต่อศาลรัฐธรรมนูญจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อมี

           เราอาจสรุปได้ว่า แม้จะมีการกำาหนดกระบวนพิจารณาออกมาอย่าง                               คำาวินิจฉัยของสภาผู้แทนราษฎรในเรื่องดังกล่าวเสียก่อน ผู้มีสิทธิ
           เป็นระบบและมุ่งหวังจะให้สภาผู้แทนราษฎรทำาหน้าที่เสมือนองค์กร                           คัดค้านไม่สามารถเสนอคำาร้องโดยตรงต่อศาลรัฐธรรมนูญได้หากยังมิได้
           ตุลาการในกรณีนี้ก็ตาม แต่ผลลัพธ์ที่ออกมาสามารถยืนยันได้ว่า                             เสนอคำาร้องดังกล่าวต่อสภาผู้แทนราษฎร โดยการพิจารณากระบวนการ

           สภาผู้แทนราษฎรไม่อาจรับบทบาทดังกล่าวได้ การกำาหนดให้ผู้มีสิทธิ                         คัดค้านผลการเลือกตั้งต่อศาลรัฐธรรมนูญแบ่งออกเป็น 4 ประเด็น
           คัดค้านต้องเสนอคำาร้องต่อสภาผู้แทนราษฎรก่อนจึงจะมีสิทธิเสนอ                            ดังต่อไปนี้

           คำาร้องไปยังศาลรัฐธรรมนูญจึงเป็นการสร้างภาระให้กับผู้มีสิทธิคัดค้าน
           เกินจำาเป็น รวมทั้งเป็นการประวิงเวลาในการทำาหน้าที่ตรวจสอบ                                     2.2.1 ผู้มีสิทธิเสนอคำาร้อง
           ความชอบด้วยกฎหมายของการเลือกตั้งโดยศาลรัฐธรรมนูญ                                                ผู้มีสิทธิเสนอคำาร้องคัดค้านผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทน


                                                                                                  ราษฎรต่อศาลรัฐธรรมนูญประกอบไปด้วยบุคคล 3 ประเภทดังนี้

                                                                                                             2.2.1.1 ผู้ร้องคัดค้านผลการเลือกตั้งต่อสภาผู้แทนราษฎร

                                                                                                             บุคคลที่มีสิทธิเสนอคำาร้องคัดค้านผลการเลือกตั้งสมาชิก

                                                                                                  สภาผู้แทนราษฎรต่อศาลรัฐธรรมนูญประเภทแรกคือบุคคลที่ได้เสนอ

           158
             W. Hoppe, Die Wahlprüfung durch den Bundestag (Art. 41 Abs. 1 Satz 1 GG) –
           ein “Wahlprüfungs-verhinderungsverfahren”?, in: DVBl 1996, S. 344; H. Lackner,         159
           Grundlagen des Wahlprüfungsrechts nach Art. 41 GG, in: JuS 2010, S. 308; อ้างถึงใน       วรเจตน์ ภาคีรัตน์. (2546). วิธีพิจารณาของศาลรัฐธรรมนูญ: ศึกษาเปรียบเทียบกรณีของ
           ปูนเทพ ศิรินุพงศ์. อ้างแล้ว. หน้า 64                                                   ศาลรัฐธรรมนูญต่างประเทศกับศาลรัฐธรรมนูญไทย. กรุงเทพฯ: วิญญูชน. หน้า 23
   121   122   123   124   125   126   127   128   129   130   131