Page 120 - kpi19815
P. 120

118                                                                                                              การคัดค้านผลการเลือกตั้งโดยผู้มีสิทธิเลือกตั้ง  119


           คำาร้องคัดค้านผลการเลือกตั้งต่อสภาผู้แทนราษฎรและสภาดังกล่าว                                    แม้บุคคลจะมีคุณสมบัติต่างๆ ครบถ้วน แต่การจะใช้สิทธิ

           ได้วินิจฉัยชี้ขาดคำาร้องนั้นแล้ว การพิจารณากระบวนการคัดค้านผล                          ลงคะแนนได้นั้นบุคคลจะต้องทำาการลงทะเบียนเพื่อใช้สิทธิเลือกตั้ง
           การเลือกตั้งต่อสภาผู้แทนราษฎรแบ่งออกเป็น 4 ประเด็นดังต่อไปนี้                          ระหว่างช่วงเวลา 20 ถึง 16 วันก่อนวันลงคะแนนเสียง โดยแต่ละบุคคล
                                                                                                  สามารถลงทะเบียนดังกล่าวได้เพียงเขตเลือกตั้งเดียวเท่านั้น หากมิได้
                   2.1.1 ผู้มีสิทธิเสนอคำาร้อง
                                                                                                  ลงทะเบียนเพื่อใช้สิทธิเลือกตั้ง ผู้มีสิทธิเลือกตั้งก็ไม่สามารถใช้สิทธิ
                   ผู้มีสิทธิเสนอคำาร้องคัดค้านผลการเลือกตั้งสภาผู้แทนราษฎร                       ของตนในวันลงคะแนนได้   137
           ประกอบไปด้วยบุคคล 3 ประเภท ประเภทแรกคือผู้มีสิทธิเลือกตั้ง

           ประเภทที่สองคือประธานคณะกรรมการการเลือกตั้ง และประเภทที่                                       แต่อย่างไรก็ตาม การที่ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะไปใช้สิทธิหรือไม่นั้น
                                                                                                                                                       138
           สามคือประธานสภาผู้แทนราษฎร                                                             ไม่กระทบต่อการใช้สิทธิคัดค้านผลการเลือกตั้งแต่อย่างใด  กล่าว
                                                                                                  อีกนัยหนึ่งก็คือ ผู้มีสิทธิเสนอคำาร้องคัดค้านผลการเลือกตั้งสมาชิก

                      2.1.1.1 ผู้มีสิทธิเลือกตั้ง                                                 สภาผู้แทนราษฎรไม่จำาเป็นต้องเป็นผู้ไปใช้สิทธิลงคะแนนเสียงในการ

                      ผู้มีสิทธิเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจะต้องเป็นบุคคล                      เลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร นอกจากนี้บทบัญญัติว่าด้วยคุณสมบัติ
           ที่ถือสัญชาติเยอรมันและมีอายุ 18 ปีบริบูรณ์ในวันลงคะแนนเสียง โดย                       ของคู่ความในกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่งหรือคดีปกครองก็ไม่มีผล
                                                                                                                                                             139
           บุคคลดังกล่าวจะต้องมีภูมิลำาเนาอยู่ในสหพันธรัฐอย่างน้อย 3 เดือน                        กระทบใดๆ ต่อคุณสมบัติในการเป็นผู้มีสิทธิคัดค้านผลการเลือกตั้ง
                                                                      134
           ซึ่งคำาว่าภูมิลำาเนาในที่นี้หมายถึงสถานที่ปิดใดๆ ก็ตามที่บุคคลใช้อยู่                  เพราะฉะนั้น คุณสมบัติเดียวของผู้มีสิทธิคัดค้านผลการเลือกตั้งก็คือ
           อาศัยหรือหลับนอน ในกรณีของรถบ้านหรือแพบ้านนั้น หากจะนับ                                เป็นผู้มีสิทธิเลือกตั้งเท่านั้น

           เป็นที่อยู่อาศัยได้จะต้องเป็นรถหรือแพที่อยู่กับที่ติดต่อกันเป็นเวลา                               2.1.1.2 ประธานคณะกรรมการการเลือกตั้ง
           นานหรือมีการเคลื่อนที่บ้างนานๆ ครั้ง  นอกจากนี้คุณสมบัติพื้นฐาน
                                            135
           ข้างต้นแล้ว ผู้มีสิทธิเลือกตั้งจะต้องไม่ใช่ผู้ที่อยู่ในระหว่างเพิกถอนสิทธิ                        ประเทศเยอรมนีมีลักษณะเป็นรัฐรวมประเภทสหพันธรัฐ
           เลือกตั้งตามคำาพิพากษาของศาล บุคคลไร้ความสามารถ หรือผู้มีอาการ                         กล่าวคือเป็นรัฐที่ประกอบไปด้วยรัฐสมาชิกจำานวนหนึ่งซึ่งยังคงมี
           ป่วยทางจิตและอยู่ในการควบคุมของสถานบำาบัด  136


                                                                                                  137  มาตรา 14 และ 17 รัฐบัญญัติว่าด้วยการเลือกตั้ง
                                                                                                  138
                                                                                                     C. Hillgruber/C. Goos, Verfassungsprozessrecht, 3. Aufl. 2011, § 10 Rn. 768; H.
                                                                                                  Lackner, Grundlagen des Wahlprüfungsrechts nach Art. 41 GG, in: JuS 2010, S. 309;
           134  มาตรา 12 (1) รัฐบัญญัติว่าด้วยการเลือกตั้ง                                        อ้างถึงใน ปูนเทพ ศิรินุพงศ์. อ้างแล้ว. หน้า 65
           135  มาตรา 12 (3) รัฐบัญญัติว่าด้วยการเลือกตั้ง                                        139  คำาวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ BVerfGE 1, 87 (89); คำาวินิจฉัยศาลรัฐธรรมนูญ BVerfGE 67,
           136  มาตรา 13 รัฐบัญญัติว่าด้วยการเลือกตั้ง                                            146 (147); อ้างถึงใน ปูนเทพ ศิรินุพงศ์. เรื่องเดียวกัน.
   115   116   117   118   119   120   121   122   123   124   125